Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64188
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิษณุพงศ์ กาญจนพยนต์-
dc.contributor.authorอนุพงศ์ วีระพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialฉะเชิงเทรา-
dc.date.accessioned2020-02-18T04:37:09Z-
dc.date.available2020-02-18T04:37:09Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64188-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractเขาดงยาง จังหวัดฉะเชิงเทรา เป็นพื้นที่ที่มีศักยภาพทางด้านแหล่งแร่โลหะพื้นฐานและทองคำที่มีลักษณะการเกิดแบบแหล่งแร่น้ำร้อน โดยสารละลายน้ำร้อนจะแทรกเข้ามาตามรอยแตกในหิน ซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับธรณีวิทยาโครงสร้าง โครงการนี้จึงมุ่งเน้นการศึกษาลักษณะธรณีวิทยาโครงสร้าง รวมถึงความสัมพันธ์ วิวัฒนาการ และกลไกการเกิดของธรณีวิทยาโครงสร้างของเขาดงยาง จังหวัดฉะเชิงเทรา จากการศึกษาในระดับมัชฌิมภาคจากภาคสนามทำให้ทราบว่าหินโผล่เป็นหินไมกาชีสต์ที่มีระนาบเรียงตัวแบบหินชีสต์วางตัวอยู่ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้เช่นเดียวกันกับโครงสร้างแนวเส้น พบแนวแตกทั้งหมด 3 แนว รอยเลื่อนย้อนมุมต่ำและหินกรวดเหลี่ยมรอยเลื่อน รวมถึงชั้นหินคดโค้งระนาบแกนร่วมและแถบโค้งมุมแหลม และจากการศึกษาเพิ่มเติมในระดับจุลภาคจากการศึกษาแผ่นหินบางภายใต้กล้องจุลทรรศน์ พบตัวบ่งชี้ทิศทางการเฉือนจุลภาคหลายชนิดและการแสดงกลไกการเปลี่ยนลักษณะแบบอ่อนนิ่มของแร่ควอตซ์จึงทำให้ทราบว่าหินในพื้นที่ศึกษาอยู่ในชุดลักษณ์กรีนชีสต์ที่มีอุณหภูมิการแปรสภาพอยู่ในช่วงระหว่าง 300 ถึง 400 องศาเซลเซียส และมีการกลไกการเกิดชั้นหินคดโค้งเป็นแบบเลื่อนไถล วิวัฒนาการธรณีแปรสัณฐานและธรณีวิทยาโครงสร้างของเขาดงยาง จังหวัดฉะเชิงเทรา เกิดขึ้นในยุคไทรแอสซิก ซึ่งเป็นผลมาจากการชนกันระหว่างแผ่นจุลทวีปฉาน-ไทยและแผ่นจุลทวีปอินโดจีนทำให้เกิดความเค้นหลักค่ามากสุดในประมาณทิศตะวันตก-ตะวันออกเป็นผลทำให้เกิดชั้นหินคดโค้งแบบเลื่อนไถลที่เกิดร่วมกับแรงเฉือนเฉพาะระดับท้องถิ่นในบริเวณพื้นที่ศึกษาพร้อมกับการแปรสภาพและการเกิดโครงสร้างทางธรณีวิทยาอื่น ๆen_US
dc.description.abstractalternativeKhao Dong Yang, Chachoengsao province is an area that has potential in the area of basic metals and gold that has the characteristics of hydrothermal deposit, the hydrothermal solution will came along in the cracks in the rock. This project focuses on the study of structural geology. Including the relationship, evolution and methanism of structural geology of Khao Dong Yang, Chachoengsao Province. Based on the mesoscopic study from the field, the outcrops are mica-schist with NW-SE direction of schistosity as well as the lineation. There are 3 different joint sets, thrust fault and fault breccia. Including parasitic folds and kink bands are also found. From the additional microscopic study, from the study of thin sections under the microscope, many types of shear sense indicators and ductile deformation of quartz are found, causing the rocks in the study area are greenschist facies with temperatures between 300 to 400°C and fold methanism is flexural-slip. Tectonic and structural evolution of Khao Dong Yang, Chachoengsao Province occurred in the Triassic are which is the result of a collision between Shan-Thai microcontinent and Indochina microcontinent, causing the maximum stress in about W-E direction, resulting in the formation of flexural-slip fold with local shear force in the study area along with the metamorphism and formation of other geological structures.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleธรณีวิทยาโครงสร้างของเขาดงยาง จังหวัดฉะเชิงเทราen_US
dc.title.alternativeStructural geology of Khao Dong Yang, Chachoengsao Provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorPitsanupong.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anupong_W_Se_2561.pdf10.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.