Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64205
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเบญจพล เฉลิมสินสุวรรณ-
dc.contributor.authorชนานันท์ โรจนรุ่งเรืองพร-
dc.contributor.authorศุภรดา วินัยพานิช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-20T01:16:26Z-
dc.date.available2020-02-20T01:16:26Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64205-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีวิศวกรรม คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractปัจจุบันภาวะโลกร้อน ทวีความรุนแรงมากขึ้นซึ่งมีสาเหตุหลักมาจากการที่มีแก๊สเรือนกระจก ในบรรยากาศมากเกินไป แก๊สเรือนกระจกตัวหนึ่งที่สำคัญ ได้แก่ คาร์บอนไดออกไซด์ ซึ่งเกิดจากการเผาไหม้เชื้อเพลิงเพื่อนำพลังงานมาใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ของมนุษย์ งานวิจัยนี้ได้จำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณภายในเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดแบบดั้งเดิม และเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดแบบขั้น โดยใช้การจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณแบบสองมิติ ร่วมกับทฤษฎีจลน์การไหลของอนุภาคของแข็ง เพื่อศึกษาตัวแปรต่าง ๆ ทีส่งผลต่อการกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์ภายในเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบด โดยใช้ตัวดูดซับของแข็งโพแทสเซียมคาร์บอเนต และเพื่อพัฒนาเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดแบบขั้นให้มีประสิทธิภาพในการกาจัดคาร์บอนไดออกไซด์เพิ่มขึ้น สำหรับผลของตัวแปรดำเนินการ พบว่า ขนาดของอนุภาคของแข็งไม่มีผลต่อการกาจัดคาร์บอนไดออกไซด์ ความเร็วของของไหล อัตราการหมุนเวียนของแข็ง อุณหภูมิของของไหล ส่งผลต่อการกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์ภายในเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดอย่างมีนัยสำคัญ สำหรับผลของตัวแปรออกแบบ พบว่า มุมกรวย ความกว้างขั้น ความสม่ำเสมอของขั้น และระยะห่างระหว่างขั้น ส่งผลต่อการกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์ภายในเครื่องปฏิกรณ์ กล่าวโดยสรุป การพัฒนาเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดเป็นแบบขั้น สามารถส่งผลให้ประสิทธิภาพการกำจัดคาร์บอนไดออกไซด์สูงขึ้นกว่าเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดแบบดั้งเดิมen_US
dc.description.abstractalternativeNowadays, global warming is a serious environmental issue which is caused by the emission of greenhouse gases to the atmosphere. The important greenhouse gas is carbon dioxide which is mainly produced by burning fossil fuels in industrial and human activities. In this study, the conventional fluidized bed reactor and the stage fluidized bed reactor were simulated by using a two-dimensional computational fluid dynamics simulation with the kinetic theory of granular flow concept. The purposes of this study were to study the parameters that had an effect on carbon dioxide removal in fluidized bed reactor by using the potassium carbonate solid sorbents and to develop the suitable model for stage fluidized bed reactor to increase the carbon dioxide removal. The effect of operating parameters showed that particle diameter did not affect on carbon dioxide removal. Gas inlet velocity, solid mass flux and gas inlet temperature had significant affect on carbon dioxide removal in fluidized bed reactor. The effect of designing parameters showed that that cone angle, width of stage, distance between stages and number of stages affected on carbon dioxide removal in fluidized bed reactor. In summary, the development of a stage fluidized bed reactor could give higher carbon dioxide removal efficiency than conventional fluidized bed reactor.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการจำลองพลศาสตร์ของไหลเชิงคำนวณของเครื่องปฏิกรณ์ฟลูอิไดซ์เบดแบบขั้น แบบมีปฏิกิริยาเคมีen_US
dc.title.alternativeComputational fluid dynamics simulation of stage fluidized bed reactor with chemical reactionen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorBenjapon.C@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Chananun_R_Se_2561.pdf1.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.