Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64207
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อนวัช อาชวาคม | - |
dc.contributor.author | ฐิติรัตน์ กมลทิพย์วงศ์ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-20T01:25:55Z | - |
dc.date.available | 2020-02-20T01:25:55Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64207 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | ในปัจจุบันสิ่งแวดล้อมมีโลหะปนเปื้อนเป็นจำนวนมาก เช่น ปรอท อาร์เซนิก ทองคำ เป็นต้น ผู้วิจัยจึงพัฒนาวิธีในการตรวจวัดโลหะเหล่านี้ โดยสังเคราะห์สารอนุพันธ์ 1,4-dihydropyridine (DHP) ที่มีหมู่แทนที่บนไนโตรเจนอะตอมที่แตกต่างกัน ได้แก่ DHP-SH และ Bis-DHP-SS ซึ่ง DHP-SH สังเคราะห์จาก 2-aminoethanethiol และ Bis-DHP-SS สังเคราะห์จาก DHP-OTs จากการทดลองผู้วิจัยสามารถพิสูจน์ทราบโครงสร้างได้โดย ¹H NMR และ MSอนุพันธ์ DHP ที่สังเคราะห์ได้มีคุณสมบัติการดูดกลืนและเปล่งแสงแบบฟลูออเรสเซนต์ที่ความยาวคลื่น 360 nm และ 450 nm ตามลำดับ นอกจากนี้อนุพันธ์ DHP ทั้งสองชนิดดับสัญญาณฟลูออเรสเซนต์กับ Au³⁺ ในสารละลายน้ำ โดย DHP-SH และ Bis-DHP-SS กับ Au³⁺ จะเกิดการดับสัญญาณการเรืองแสงอย่างสมบูรณ์เมื่อเวลาผ่านไป 20 และ 60 นาที ตามลำดับ และได้นำ Bis-DHP-SS มาทดสอบการเป็นเซนเซอร์ตรวจวัดปริมาณ Au³⁺ ในสารละลาย พบความสัมพันธ์เชิงเส้นตรงระหว่างความเข้มของแสงฟลูออเรสเซนต์กับความเข้มข้นของ Au³⁺ ในช่วง 10-50 μM ซึ่งให้ค่า LOD เท่ากับ 7.71 μM การพัฒนาการสังเคราะห์นาโนคอมโพสิตและนำไปทดสอบการตรวจวัดโลหะไอออนของระบบนาโนพาร์ติเคิลกับ DHP-SH กำลังอยู่ระหว่างการดำเนินการ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Nowadays, the environment has been contaminated by many heavy metal ions such as mercury, arsenic, gold. Therefore, we have developed the method to detect such metal ions by synthesizing 1,4-dihydropyridine derivatives (DHP) i.e., DHP-SH and Bis-DHP-SS, containing different substituent on the nitrogen atom. DHP-SH and Bis-DHP-SS were synthesized from 2-aminoethanethiol and 1,4-dihydropyridine tosylates (DHP-OTs), respectively. Synthesized compounds were characterized by ¹H NMR and MS. These derivatives have maximum absorption and fluorescence emission properties at 360 nm and 450 nm, respectively. And, fluorescent signals of both DHPs were quenched by Au³⁺ in MilliQ water. In details, once DHP-SH and Bis-DHP-SS were formed to Au³⁺, their fluorescent signals completely disappeared after 20 mins and 60 mins, respectively. Bis-DHP-SS was tested as a sensor for the determination of Au³⁺ in MilliQ water and it gave a linear relationship between the fluorescence intensity and Au³⁺ concentration in the range of 10-50 μM demonstrating LOD value to be 7.71 μM. Development of synthesizing nanocomposite between nanoparticles and DHP-SH and sense for the determination of metal ions are on progress. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การพัฒนานาโนคอมโพสิตฟลูออโรฟอร์-พลาสโมนิกเพื่อตรวจวัดไอออน-โมเลกุล | en_US |
dc.title.alternative | Development of ion-molecule recognizing fluorophore-plasmonic nanostructure composite | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Anawat.A@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thitirut_K_Se_2561.pdf | 1.54 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.