Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64209
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนีกร ธรรมโชติ | - |
dc.contributor.advisor | นครินทร์ กิตกำธร | - |
dc.contributor.author | ณัฐณิชา มุกดาม่วง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-20T01:33:04Z | - |
dc.date.available | 2020-02-20T01:33:04Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64209 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | มะเร็งรังไข่จัดเป็นโรคมะเร็งที่พบได้เป็นอันดับที่ 6 ในผู้หญิง โดยระยะแรกของโรคนัน้ ไม่มี อาการแสดงออกอย่างชัดเจน ทำให้ยากต่อการตรวจสอบ รวมถึงยากต่อการรักษา ดังนัน้ การ วินิจฉัยโรคในระยะแรกจะช่วยเพิ่มโอกาสในการรักษาที่ประสบความสำเร็จได้มากขึ้น วัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือ เพื่อตรวจสอบระดับการเกิดดีเอ็นเอเมทิลเลชันบนยีน STK38 ซึ่ง เป็นยีนที่มีความเกี่ยวข้องกับกระบวนการแบ่งเซลล์ และการตายของเซลล์ โดยจากการศึกษาก่อน หน้าพบว่าการเกิดไฮโปเมทิลเลชันที่ยีน STK38 มีความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งรังไข่ ในการ ทดลองครัง้ นี้ได้รวมรวบตัวอย่าง คือ ชิ้นเนื้อ รังไข่ของผู้ป่วยมะเร็งรังไข่ 30 ตัวอย่าง และชิ้นเนิ้อรังไข่ของบุคคลปกติ 20 ตัวอย่าง โดยแบ่งบางส่วนเพื่อนำไปตรวจสอบทางจุลพยาธิวิทยาด้วยการ ย้อมสี Hematoxylin and eosin stain และอีกส่วนนำไปสกัดดีเอ็นเอเพื่อตรวจสอบการเกิดดีเอ็นเอ เมทิลเลชัน โดยผ่านกระบวนการ bisulfite conversion และตรวจสอบด้วยวิธี Methylationspecific PCR (MSP) ร่วมกับการทำ real-time PCR ผลการทดลองที่ได้จากการตรวจสอบด้วยวิธี MSP พบว่าการเกิดดีเอ็นเอเมทิลเลชันที่ยีน STK38 ไม่ได้มีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ แต่เมื่อ วิเคราะห์ผลร่วมกับการตรวจสอบทางจุลพยาธิวิทยา พบว่าการเกิดไฮโปเมทิลเลชันที่ยีน STK38 มี ความสัมพันธ์กับการเกิดมะเร็งรังไข่อย่างมีนัยสำคัญ ค่า p คือ 0.0001 จึงสรุปได้ว่าการตรวจสอบ ระดับเมทิลเลชันด้วยวิธี MSP เพียงอย่างเดียวไม่มีความสัมพันธ์ต่อการเกิดโรค ดังนัน้ ควรตรวจสอบทางจุลพยาธิวิทยาร่วมด้วยซึ่งพบความสัมพันธ์กับการเกิดโรค | en_US |
dc.description.abstractalternative | Ovarian cancer is the sixth most common cancer in women. This cancer no specific symptoms are presented in the early stages, making it difficult to detect and treat. Therefore diagnosis in the early stages will increase the chances of successful treatment. The objective of this study is to analyze the level of DNA methylation in the STK38 gene, which has been reported to be associated with cell cycle and apoptosis. A previous study indicated that hypomethylation in the STK38 gene was associated with ovarian cancer. In the present study, ovarian tissue samples from 30 ovarian cancer patients and 20 normal women were collected. Parts of the tissues were analyzed by histopathology stains and the other were processed for DNA extraction. The DNA methylation level was analyzed by Methylation-specific PCR (MSP) and real-time PCR. No significant difference between DNA methylation levels in the STK38 gene between ovarian cancer patients and normal controls was observed. But if analyzed together with results from histopathology, the STK38 DNA methylation level was associated with ovarian cancer (p=0.0001). Therefore, results from this study indicated that DNA methylation level alone was not associated with the disease occurrence, but should be analyzed together with histopathology analysis. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การวิเคราะห์การเกิดเมทิลเลชันของยีน STK38 ในมะเร็งรังไข่ | en_US |
dc.title.alternative | Methylation analysis of the STK38 gene in ovarian cancer | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Ratchaneekorn.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nudnicha_M_Se_2561.pdf | 1.17 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.