Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64227
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กุนทินี สุวรรณกิจ | - |
dc.contributor.author | ปริชญ์ ทิพยรัตน์ | - |
dc.contributor.author | ศริยา คุ้มวงษ์ | - |
dc.contributor.author | สุรีย์ ใหญ่แก้ว | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-25T02:13:40Z | - |
dc.date.available | 2020-02-25T02:13:40Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64227 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเทคโนโลยีทางภาพและการพิมพ์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | โครงการการเรียนการสอนเพื่อเสริมประสบการณ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการผลิตและพัฒนากระดาษจากเยื่อกาบมะพร้าวทั้งจากมะพร้าวแก่และมะพร้าวอ่อนสำหรับบรรจุภัณฑ์ โดยใช้กระบวนการแช่เยื่อในเมทานอล และต้มเยื่อด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ (Sodium Hydroxide) เข้มข้นร้อยละ 12 และ 15 โดยมวลต่อปริมาตร ที่ระยะเวลาในการต้ม 1 ชั่วโมง อุณหภูมิ 120 องศาเซลเซียส ผลการศึกษาหาภาวะที่เหมาะสมในการผลิตเยื่อพบว่ากระดาษที่ผลิตจากเยื่อกาบมะพร้าวแก่ที่แช่เส้นใยในเมทานอลเป็นเวลา 4 วัน แล้วนำมาต้มด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้นร้อยละ 15 โดยมวลต่อปริมาตร และกระดาษที่ผลิตจากเยื่อกาบมะพร้าวอ่อนที่แช่เส้นใยในด้วยเมทานอลเป็นเวลา 1 วัน แล้วนำต้มด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์ความเข้มข้นร้อยละ 12 โดยมวลต่อปริมาตร มีความต้านทานแรงดึงมากที่สุด และเมื่อเปรียบเทียบสมบัติของกระดาษจากเยื่อกาบมะพร้าวทั้งสองชนิดพบว่ากระดาษที่ผลิตจากเยื่อกาบมะพร้าวแก่ให้คุณสมบัติในด้านของความต้านทานแรงดึง ความต้านทานแรงฉีก และความต้านทานแรงกดวงแหวน ส่วนกระดาษที่ผลิตจากเยื่อกาบมะพร้าวอ่อนจะให้คุณสมบัติที่ดีในด้านความขาวสว่าง (Brightness) และจากผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้บริโภคต่อบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากกระดาษต่างชนิดกันจำนวน 30 คน พบว่าผู้บริโภคมีความพึงพอใจต่อผิวสัมผัส สี และลวดลายที่สวยงามของบรรจุภัณฑ์ที่ผลิตจากกระดาษที่มีส่วนผสมของเยื่อกาบมะพร้าว นอกจากนี้บรรจุภัณฑ์ที่ขึ้นรูปด้วยกระดาษที่มีส่วนผสมของเยื่อกาบมะพร้าวยังสามารถตอบสนองต่อการเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสิ่งแวดล้อมได้ | en_US |
dc.description.abstractalternative | This Project aims to study the production and development of paper from young and mature coconut coir fibers for packaging. The coir fibers were soaked in methanol before further pulped using 12% and 15% sodium hydroxide (w/v) at 120ºC for 1 hour. It was found that the optimal pulping condition for young coconut coir fibers was 4 days soaking in methanol and pulping using 15% sodium hydroxide, whereas the optimal pulping condition for mature coconut coir fibers was 1 day soaking in methanol and pulping using 12%sodium hydroxide. The results also showed that the paper produced from mature coconut fiber had better tensile strength, tear resistance and ring crush resistance, while the paper produced from young coconut fiber gave good brightness. The consumer satisfaction survey of a group of 30 people showed that consumers were most satisfied with the texture, color and beautiful patterns of the packaging made from coconut-commercial pulp mixture. Consumers also felt that packaging made with paper containing coconut fiber are environmentally friendly. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การผลิตและพัฒนากระดาษจากเยื่อกาบมะพร้าวสำหรับบรรจุภัณฑ์ | en_US |
dc.title.alternative | Development of a color strip from colorants in grape for alkali indicator | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Kuntinee.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Parich_T_Se_2561.pdf | 1.92 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.