Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64235
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวราลักษณ์ เกษตรานันท์-
dc.contributor.authorศรนันท์ แก้วอนุ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-25T06:31:30Z-
dc.date.available2020-02-25T06:31:30Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64235-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractเรณูของกล้วยไม้สกุลหวาย พันธุ์สุรีย์พีช นำมาเพาะบนอาหารวุ้น เพื่อหาสูตรอาหารและเวลาที่เหมาะสมต่อการงอกของเรณูด้วยวิธี in vitro pollen germination ใช้สูตรอาหารทั้งหมด 6 สูตร ได้แก่ สูตรอาหารของ Brewbaker and Kwack และน้ำกลั่น ผสมกับซูโครสเข้มข้น 0%, 2% และ 10% โดยใช้ความเข้มข้นของวุ้นเท่ากับ 0.7% พบว่า ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การงอกของเรณูเริ่มนับได้ที่ระยะเวลา 120 ชั่วโมงหลังจากเริ่มเพาะบนอาหารวุ้น โดยเรณูแบบไม่คลุก stigma fluid ที่เพาะบนอาหารวุ้นสูตร Brewbaker and Kwack เติมซูโครสเข้มข้น 10% มีค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การงอกของเรณูมากที่สุดคือ 34.46% เมื่อนำเรณูไปแช่ในสารโคลชิซิน ซึ่งเป็นสารที่นิยมใช้ในการชักนำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงจำนวนชุดโครโมโซม ในระดับความเข้มข้น 0.10%, 0.15% และ 0.20% เป็นระยะเวลา 120 ชั่วโมง และย้อมสี acetocarmine พบว่า สารโคลชิซินเข้มข้น 0.14% คือค่า LC10 หรือระดับความเข้มข้นของสารโคลชิซินที่ทำให้ค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์ความมีชีวิตของเรณูเท่ากับ 90% และเมื่อนำสารโคลชิซินเข้มข้น 0.14% ผสมในสูตรอาหาร Brewbaker and Kwack เติมซูโครสเข้มข้น 10% แล้วเพาะเรณูเป็นเวลา 120 ชั่วโมงเปรียบเทียบกับอาหารวุ้นในชุดควบคุมที่ไม่ผสมโคลชิซิน พบว่า เรณูที่เพาะในสูตรอาหารผสมโคลชิซินมีค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การงอกของเรณูเท่ากับ 1.49% ซึ่งน้อยกว่าเรณูเพาะในสูตรอาหารปกติที่มีค่าเฉลี่ยเปอร์เซ็นต์การงอกของเรณูเท่ากับ 53.85%en_US
dc.description.abstractalternativePollen of Dendrobium ‘Suree Peach’ were treated on the nutrient agar. This study educates the nutrient agar and eligible period for pollen germination by in vitro pollen germination. Nutrient agar included 6 formulas such as Brewbaker and Kwack and distriled water, mixed with 0% w/v sucrose, 2% w/v sucrose and 10% w/v sucrose added 0.7% w/v agar. Percent of pollen germination can be measured at 120 hours after pollen culture. Furthermore, pollen that not covered with stigma fluid in Brewbaker and Kwack, 10% w/v sucrose and 0.7% w/v agar has 34.46 percent of pollen germination. Then, soaked pollen in 0.10% w/v, 0.15% w/v and 0.20% w/v colchicine solution that is a familiar chemical in polyploid induction and stained with acetocarmine. The results found that 0.14% w/v colchicine solution is LC₁₀. So, Pollen in 0.14% w/v colchicine solution has 90 percent of pollen viability. Finally, Pollen in Brewbaker and Kwack, 10% w/v sucrose and 0.7% w/v agar mixed with 0.14% w/v colchicine solution has 1.49 percent of pollen germination less than pollen in nutrient agar without colchicine that has 53.85 percent of pollen germination.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleผลของโคลชิซินต่อการงอกของเรณูในกล้วยไม้สกุลหวาย พันธุ์สุรีย์พีชen_US
dc.title.alternativeThe effect of colchicine on pollen germination of Dendrobium ‘Suree Peach’en_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorWaraluk.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Soranan_K_Se_2561.pdf1.18 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.