Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64239
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสันติ ภัยหลบลี้-
dc.contributor.authorพงษ์ภัทร์ ชิ้นอร่ามรุ่งเรือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.coverage.spatialพระนครศรีอยุธยา-
dc.coverage.spatialกาญจนบุรี-
dc.date.accessioned2020-02-25T09:04:53Z-
dc.date.available2020-02-25T09:04:53Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64239-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractจากการขุดสำรวจที่ แหล่งโบราณคดีบ้านท่าโป๊ะที่จังหวัดกาญจนบุรีได้พบก้อนดินเผา และการศึกษาของ กรมศิลปากรที่ 3 อุทยานประวัติศาสตร์พระนครศรีอยุธยา พบตัวอย่างที่เป็นอิฐก่อสร้างเป็นจำนวนมาก ซึ่ง หลักฐานเหล่าล้วนขาดการตีความอายุสัมพัทธ์ ทั้งจากการไม่มีร่องรอยการบันทึกหลงเหลือและ ศิลปะโดยรอบก็ สูญหายหักพังไปมาก จึงเป็นประเด็นปัญหาทางด้านโบราณคดีที่ต้องการพิสูจน์ทราบถึงอายุของอิฐเพื่อมา อธิบาย ถึงความแตกต่างทางกายภาพของอิฐ รวมถึงบอกสภาพแวดล้อมบรรพกาล ณ เวลาที่ก้อนดินเผานั้นถูกใช้งาน จาก หลักการการหาอายุด้วยวิธีเปล่งแสงซึ่งใช้ความสัมพันธ์ระหว่างปริมาณของอิเล็กตรอนที่สะสมตัวใน หลุมกักเก็บ อิเล็กตรอนของโครงสร้างผลึกของแร่ ซึ่งเรียกว่า Equivalence dose (ED) Annual dose (AD) ประกอบกับการที่อิฐเป็นวัสดุก่อสร้างทางธรณีวิทยาชนิด หนึ่งที่สามารถพบแร่ควอตซ์ซึ่งเป็นแร่ที่มีคุณสมบัติในการเปล่งแสงเป็นองค์ประกอบ การหาอายุด้วยวิธีเปล่งแสง จึงสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในการหาอายุอิฐได้ ผู้จัดทำโครงงานจึงทำการศึกษาตัวอย่างอิฐและก้อนดินเผา ทั้งสิ้น 7 ตัวอย่าง โดยทำการเตรียมตัวอย่างเพื่อทดลองหาค่า ED และ AD ด้วยเครื่อง TL/OSL reader และ Gamma-ray spectrometer จากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ตามลำดับ จึงสามารถสรุปลักษณะสภาพแวดล้อมการตั้งถิ่น ฐานของชุมชนโบราณบ้านท่าโป๊ะได้ และสนับสนุนสมมติฐานการเปลี่ยนรสนิยมใช้อิฐหนา 3 cm. ไปเป็น 6 cm. ในสมัยอยุธยาตอนกลาง และตอนปลาย จากการศึกษาในพื้นที่ศึกษา วัดกระจี พระราชวังโบราณฝ่ายใน และพระที่นั่งสุริยาสน์อมรินทร์ ซึ่งถูกสร้างขึ้นในคนละยุคสมัยกันen_US
dc.description.abstractalternativeAccording to Fine Art Department of Thailand’s report, Kanchanaburi burned clay from Tha Poh archaeological site and Bricks from Pra Nakhon Sri Ayutthaya historical park. This discovery causes an archaeological problem which is proofing the ages of the bricks and burned clay due to their non-record era and loss of index arts. In order to precisely explain the sequence of Ages. Luminescence dating is a method using the relationship between the number of electrons which are accumulated in the electron trap of the inorganic crystal structure from the mineral (Equivalence Dose: ED) and the annual radiation dose of the radioactive element in nature (Annual Dose: AD). Also, the brick is a geological material which probably contains quartz grains which can be applied luminescence dating method to date the bricks by its luminescence property. The gamma-ray spectrometer and TL/OSL reader at Chulalonkorn University were used to analyze AD and ED of 7 samples respectively. The results help to conclude the environment of the settlement at Kanchanaburi at that time, at Ayutthaya we can imply the results from Wat Krachee, Inner Royal Palace, Suriyas Amarin Palace were built by different used of bricks thickness.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการกำหนดอายุอิฐด้วยวิธีเปล่งแสงในบริเวณอุทยานประวัติศาสตร์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัดกาญจนบุรีen_US
dc.title.alternativeLuminescence dating of bricks in historical park, Pra Nakhon Sri Ayutthaya and Kanchanaburi provinceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSanti.Pa@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pongpat_C_Se_2561.pdf1.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.