Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64244
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | รัชนีกร ธรรมโชติ | - |
dc.contributor.advisor | นครินทร์ กิตกำธร | - |
dc.contributor.author | รินรดา กลั่นขจร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-02-25T09:50:51Z | - |
dc.date.available | 2020-02-25T09:50:51Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64244 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | โรคข้อเข่าเสื่อม (Knee osteoarthritis) เป็นโรคที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ เกิดจากความเสื่อมของกระดูกอ่อนผิวข้อ ทำให้เกิดความเจ็บปวดและส่งผลต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน โรคข้อเข่าเสื่อมเกิดได้จากหลายสาเหตุ รวมทั้งพันธุกรรม แต่ที่มุ่งเน้นในการศึกษาครั้งนี้ คือ การเปลี่ยนแปลงเหนือสภาะพันธุกรรม (epigenetics) ด้วยดีเอ็นเอเมทิเลชัน โดยวัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับเมทิลเลชันบนยีน Growth differentiation factor 5 (GDF5) กับการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม โดยยีน GDF5 เป็นยีนที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตและการบำรุงรักษาของข้อต่อ และมีการศึกษาในเมทิลเลชันอาร์เรย์ที่ระบุว่าเมทิลเลชันในยีนนี้อาจมีความเกี่ยวข้องกับการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมได้ การทดลองนี้ได้นำดีเอ็นเอจากเลือดของผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อมกับกลุ่มคนปกติ (ผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม 50 คน กับคนปกติ 50 คนตามลำดับ) มาตรวจสอบการเกิดเมทิลเลชันในยีน GDF5 ด้วยเทคนิค Combined Bisulfite Restriction Analysis (COBRA) และได้ใช้ดีเอ็นเอควบคุมที่มีเมทิลเลชันและดีเอ็นเอที่ไม่มีเมทิลเลชันมาใช้เปรียบเทียบอย่างไรก็ตาม ในการศึกษาพบอุปสรรค คือไม่สามารถระบุไพรเมอร์ในการทำ PCR ที่มีความจำเพาะกับดีเอ็นเอที่ผ่านกระบวนการไบซัลไฟต์ไปแล้ว จึงเสนอแนะว่าควรใช้วิธีอื่นในการตรวจสอบเมทิลเลชันของยีนนี้ในการทำการศึกษาครั้งต่อไป | en_US |
dc.description.abstractalternative | Knee osteoarthritis is a common disease found in elderly people. It is caused by degeneration of articular cartilage of the joint resulting in pain and effecting daily life. Knee osteoarthritis can be caused by several factors, including genetics. This study focuses on epigenetics by DNA methylation. The objective of this research is to study the association between the methylation level on the Growth differentiation factor 5 (GDF5) gene and knee osteoarthritis. GDF5 is a gene that is responsible for the growth and maintenance of joints. A previous study in methylation array indicated that methylation of this gene may be associated with knee osteoarthritis. In this study, DNA samples from blood of patients with knee osteoarthritis patients and controls (50 samples from knee osteoarthritis patients and 50 samples from normal control, respectively) were analyzed by Combined Bisulfite Restriction Analysis ( COBRA) to determine the methylation level in the GDF5 gene. Methylated and unmethylated control DNAs were used to compare the samples. However, the study encountered obstacle that we were unable to find PCR primers that are specific to the DNA that has undergone bisulfite process. Therefore, we recommend using other methods in the future studies to analyze the methylation of this gene. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การเกิดดีเอ็นเอเมทิลเลชันบนยีน GDF5 ในโรคข้อเข่าเสื่อม | en_US |
dc.title.alternative | DNA methylation on the GDF5 gene in knee osteoarthritis | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Ratchaneekorn.T@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rinrada_K_Se_2561.pdf | 1.56 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.