Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรัชนีกร ธรรมโชติ-
dc.contributor.authorกนกวรรณ ศรีมณี-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-02-26T02:30:35Z-
dc.date.available2020-02-26T02:30:35Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64253-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาพันธุศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractโรคข้อเข่าเสื่อมเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญที่พบได้บ่อยในผู้สูงอายุ เกิดได้จากหลายสาเหตุ เช่น ความ อ้วน การบาดเจ็บที่ข้อเข่า รวมถึงพันธุกรรม การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทำการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ ทางพันธุกรรม ของพหุสัณฐานชนิด single nucleotide polymorphism (SNP) ใน ยีน Estrogen receptor alpha (ESR1) กับการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมในประชากรไทย โดยวิเคราะห์ SNP ตำแหน่ง rs2234693 และ rs9340799 โดยใช้ดีเอ็นเอจากกลุ่มผู้ป่วยโรคข้อเข่าเสื่อม (การเสื่อมระดับ 3 ถึง 4) 176 ราย และกลุ่มควบคุม 160 ราย ด้วยวิธี PCR-RFLP จากการวิเคราะห์ พบว่า SNP ทั้งสองตำแหน่งของยีน ESR1 มีความสัมพันธ์กับ การลดการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม (SNP ตำแหน่ง rs2234693 CC : OR = 0.31, p = 0.006 และ C : OR = 0.61, p = 0.0013 และตำแหน่ง rs9340799 GG : OR = 0.22, p < 0.001, AG : OR = 0.48, p = 0.0025 และ G : OR = 0.47, p < 0.001) อย่างไรก็ตาม เมื่อวิเคราะห์ความสัมพันธ์เฉพาะในเพศใดเพศหนึ่ง พบว่ามี ความสัมพันธ์กับการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อมเฉพาะในเพศหญิงเท่านั้น (SNP ตำแหน่ง rs2234693 CC : OR = 0.27, p = 0.0007 และ C : OR = 0.58, p = 0.0018 และตำแหน่ง rs9340799 GG : OR = 0.17, p < 0.001, AG : OR = 0.45, p = 0.0035 และ G : OR = 0.42, p < 0.001) ผลการศึกษาในครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าพหุ สัณฐานในยีน ESR1 มีความสัมพันธ์กับการลดการเกิดโรคข้อเข่าเสื่อม นอกจากนี้ความสัมพันธ์ทางพันธุกรรม อาจแปรผันในประชากรอื่นen_US
dc.description.abstractalternativeKnee osteoarthritis is an important health problem that is common in the elderly. Can be caused by many reasons such as obesity, knee injury along with genetics. This study aims to analyze genetic relationships of single nucleotide polymorphism (SNP) in the Estrogen receptor alpha (ESR1) gene and knee osteoarthritis in the Thai population by analyzing 2 SNPs: rs2234693 and rs9340799. 40DNA samples from 176 knee osteoarthritis patients (severity levels 3 to 4) and 160 normal controls were analyzed by PCR-RFLP method. 40The results showed that both SNPs were associated with reduction of knee osteoarthritis (SNP position rs2234693 CC: OR = 0.31, p = 0.006 and C: OR = 0.61, p = 0.0013 and position rs9340799 GG: OR = 0.22, p <0.001, AG: OR = 0.48, p = 0.0025 and G: OR = 0.47, p <0.001). However, when the samples were stratified by gender, the significant association was found only in female (SNP position rs2234693 CC: OR = 0.27, p = 0.0007 and C: OR = 0.58, p = 0.0018 and position rs9340799 GG: OR = 0.17, p <0.001, AG: OR = 0.45, p = 0.0035 and G: OR = 0.42, p <0.001). Results from this study showed that SNPs in the ESR1 gene were associated with reducing the occurrence of knee osteoarthritis. In addition, genetic relationships may vary in other populations.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างพหุสัณฐานในยีนเอสโตรเจนแอลฟารีเซพเตอร์ และความไวต่อโรคข้อเข่าเสื่อมในประชากรไทยen_US
dc.title.alternativeAssociation between polymorphisms in the estrogen receptor alpha gene and susceptibility to knee osteoarthritis in Thai populationen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorRatchaneekorn.T@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kanokwan_S_Se_2561.pdf2.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.