Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64274
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ประพันธ์ คูชลธารา | - |
dc.contributor.author | ฑรรศภาคย์ จุติภัทร์ธนานนท์ | - |
dc.contributor.author | สุภิญญา กูลนรา | - |
dc.contributor.author | เสาวลักษณ์ คำก้อน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-03-02T04:32:08Z | - |
dc.date.available | 2020-03-02T04:32:08Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64274 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาเคมีเทคนิค คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | ปัจจุบันพลังงานทางเลือกถูกใช้เพื่อทดแทนแหล่งพลังงานหลัก ซึ่งหนึ่งในพลังงานทางเลือกนั้น คือกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชันที่ให้ร้อยละผลได้ของน้ำมันดิบชีวภาพสูง โดยกระบวนการไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชันเป็นเทคโนโลยีทางเลือกของการใช้ประโยชน์จากชีวมวลชนิดต่าง ๆ เพื่อผลิตเชื้อเพลิงที่เกี่ยวข้องกับการแปลงชีวมวลโดยตรงเป็นเชื้อเพลิงเหลว โดยเป็นการกระบวนการที่สภาวะน้ำร้อนอัดความดันในเวลาที่เพียงพอที่จะทำลายโครงสร้างของแข็งชีวภาพให้อยู่ในรูปของเหลวเป็นส่วนใหญ่ งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของชาร์จากชีวมวลต่อการผลิตน้ำมันดิบชีวภาพจากไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชัน โดยตัวแปรที่ใช้ในการศึกษาในการวิจัยนี้ได้แก่ ชนิดของชีวมวล (ชานอ้อยและเหง้ามันสำปะหลัง) ชนิดของชาร์ (ชาร์สาหร่ายพุงชะโดและชาร์ไม้ไผ่) อุณหภูมิ (300 และ 350 องศาเซลเซียส) และตัวทำละลายเดี่ยว (น้ำปราศจากไอออนและเอทานอล) โดยเมื่อพิจารณาที่อุณหภูมิ 350 องศาเซลเซียส พบว่าน้ำมันที่ได้จากชาร์ไม้ไผ่ผสมชานอ้อยให้ค่าร้อยละผลได้สูงสุด รองลงมา คือ ชาร์สาหร่ายพุงชะโดผสมชานอ้อย ซึ่งมีค่าเท่ากับร้อยละ 70.86 และ 39.29 ตามลำดับ โดยเป็นค่าที่มากกว่าค่าทำนายของการผสมชีวมวลกับชาร์ ซึ่งแสดงว่าการใส่ชาร์สาหร่ายพุงชะโดเข้าไปช่วยเพิ่มร้อยละผลได้น้ำมันดิบชีวภาพให้มากขึ้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | Nowadays, alternative energy is required to replace the main energy sources. Moreover, the one of those is hydrothermal liquefaction. It gives a high liquid yield, no drying step and high quality liquid product. It is an alternative technology of exploiting different types of biomass for fuels production, involving the direct biomass conversion to liquid fuels by processing in a hot, pressurized water environment for sufficient time to break down the solid biopolymeric structure to mainly liquid components. As a consequent biomass is considered to be one of the most promising options because throughout Thailand there are many sources. However, most of them were destroyed and burned in vain. Aim of this research is to study effects of biomass derived char on biocrude production from hydrothermal liquefaction. The parameters in this research are the biomass types (bagasse and cassava rhizome), temperature (300°C and 350°C) and solvent types (DI water and ethanol). Considering at temperature 300°C bamboo char mixed with bagasse has the highest percentage yield of liquid products and followed by Pungchado seaweed char mixed with bagasse give the liquid yield are 70.86% and 39.29% respectively. Those results are greater than the liquid yield of the biomass mixed with char, thus adding Pungchado seaweed char has increased the percentage of liquid yield. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ผลของชาร์จากชีวมวลต่อการผลิตน้ามันดิบชีวภาพจากไฮโดรเทอร์มัลลิควิแฟกชัน | en_US |
dc.title.alternative | Effect of biomass-derived char on biocrude production from hydrothermal liquefaction | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Prapan.K@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thassapak_J_Se_2561.pdf | 2.07 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.