Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64372
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวีระพงษ์ บุญโญภาส-
dc.contributor.authorภัคพงศ์ สายอุบล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-18T07:25:45Z-
dc.date.available2020-03-18T07:25:45Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741727224-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64372-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractเนื่องจากในปัจจุบัน การกระทำความผิดที่เกี่ยวกับ “แชร์ลูกโซ่” ได้พัฒนาไปอย่างรวดเร็วและก่อให้เกิดความเสียหายต่อประชาชน วงการธุรกิจและประเทศอย่างมากมายมหาศาล องศ์ประกอบสำคัญที่ก่อให้เกิดแชร์ลูกโซ่คือ 1. การหลอกลวงโดยอาศัยปัจจัยทางด้านธุรกิจ 2.ใช้ผลประโยชน์ตอบแทนที่มีมูลค่าสูงเป็นสิ่งล่อในธุรกิจนำมาใช้เป็นเครื่องมือในการหลอกลวงย่อมเปลี่ยนไปตามสถานการณ์ที่สังคมสนใจ เช่น ธุรกิจน้ำมัน ธุรกิจเพชรพลอย ธุรกิจจัดสรรวันพักผ่อน ธุรกิจการเกษตรและในบรรดาธุรกิจเหล่านี้ ธุรกิจขายตรงและตลาดแบบตรงกำลังได้รับความนิยมมากที่สุดในขณะนี้ เพราะถือว่าเป็นอาชีพเสริม ควบคู่ไปกับการประกอบอาชีพหลัก ซึ่งจำเป็นอย่างยิ่งหลังประเทศไทยพบกับวิกฤติกาณ์ทางเศรษฐกิจเมื่อ พ.ศ.2540 ดังนั้นธุรกิจขายตรงจึงถูกนำมาใช้ในการหลอกเกี่ยวกับแชร์ลูกโซ่ในปัจจุบัน ซึ่งแพร่ขยายออกไปอย่างรวดเร็ว กลับมาพิจารณาในเรื่องการบังคับใช้กฎหมายกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจประเภทนี้ พบว่าประสบความสำเร็จน้อยมาก อาจมาจากความไม่รู้ของเจ้าพนักงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งเจ้าพนักงานระดับต้นของกระบวนการยุติธรรมคือ พนักงานสอบสวน ถึงแม้ว่าจะได้มีประกาศใช้พระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. 2545 ซึ่งมีวัตถุประสงค์ในการปราบปรามแชร์ ลูกโซ่ที่แฝงอยู่ในธุรกิจขายตรงก็ตามแต่เจ้าพนักงานก็ยังคงมีปัญหาในการบังคับใช้กฎหมายต่อแชร์ลูกโซ่ประเภทนี้อยู่ ดังนั้นการที่วิทยานิพนธ์เรื่องนี้เสนอมาตรการสร้างความเข้าใจแก่พนักงานสอบสวนเกี่ยวกับความผิดที่มีลักษณะซับซ้อนในขณะเดียวกันก็เสนอให้มีการเอามาตรการใหม่ ๆ ที่เหมาะสมกับอาชญากรรมทางเศรษฐกิจ จึงจะก่อให้เกิดประโยชน์ในการบังคับใช้กฎหมายต่ออาชญากรรมประเภทนี้อย่างมาก-
dc.description.abstractalternativeAs the matter of fact offenses of "Chain Share" at present are rapidly developed and these kind of offenses cause tremendous damages to citizens, business sectors and country. The important factors of chain share offenses are 1. Fraud by using business information 2. Induce people by using large amount of income. However, businesses that use for frauding are changed by various circumstances such as oil business, jewelly business, time-sharing business, argriculture business especially direct sale and market business this kind of business is popular as part-time career beside having there own career which are very necessary for economic crisis in Thailand in the year of B.E. 2540. By these reasons direct sale and direct market is used for chain share frauding and also largely expand เท this business Considering for law enforcement on this kind of offenses it can be said that successful of enforcement is rather fail. This might be come frome ignorance of law enforcers especially the first agency of criminal justice agencies which is investigating officer. Even, Thailand just has new legal provision which is "Act of Direct Sale and Direct Market B.E. 2545" which has main purpose for suppressing chain share by using direct sale and direct market for frauding but law-enforcers still have problem to enforce this kind of offense. So this thesis focuses on presenting the new measures which include measure of training law enforcers and using new legal measure which is suitable for this kind of Economic Crime for effeciciency of law enforcement.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการขายตรง -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectอาชญากรรมทางเศรษฐกิจen_US
dc.subjectอาชญากรรมทางธุรกิจen_US
dc.titleการบังคับใช้กฎหมายในชั้นพนักงานสอบสวนเกี่ยวกับการกระทำความผิดโดยอาศัยรูปแบบธุรกิจขายตรง : ศึกษาสภาพปัญหาและแนวทางแก้ไขen_US
dc.title.alternativeLaw enforcement at the stage of inquiring officer concering crime related to direct sale : a study on problems and solutionsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineกฎหมายเศรษฐกิจen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorViraphong.B@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pakpong_sa_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ781.46 kBAdobe PDFView/Open
Pakpong_sa_ch1_p.pdfบทที่ 1717.64 kBAdobe PDFView/Open
Pakpong_sa_ch2_p.pdfบทที่ 21.08 MBAdobe PDFView/Open
Pakpong_sa_ch3_p.pdfบทที่ 32.94 MBAdobe PDFView/Open
Pakpong_sa_ch4_p.pdfบทที่ 41.95 MBAdobe PDFView/Open
Pakpong_sa_ch5_p.pdfบทที่ 5998.75 kBAdobe PDFView/Open
Pakpong_sa_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.53 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.