Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64378
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโสตถิธร มัลลิกะมาส-
dc.contributor.authorกานต์ เมธีปกรณ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.date.accessioned2020-03-21T07:34:10Z-
dc.date.available2020-03-21T07:34:10Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741702477-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64378-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ศึกษาหาปัจจัยกำหนดส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์ไทย โดยทำการวิเคราะห์หาส่วน ประกอบของส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารได้รับจริง (Ex Post Spreads) เพื่อประมาณหาส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยที่เป็นผลตอบแทนในการทำหน้าที่เป็นตัวกลางทางการเงิน (Pure Spread) ของธนาคารพาณิชย์ไทยทั้ง 13 แห่งโดยใช้ข้อมูลรายไตรมาสจากงบการเงินของธนาคารในช่วงปี 2535-2544 การประมาณผลกระทบโดยวิธีการ OLS ผลการศึกษาพบว่าในช่วงก่อนเกิดวิกฤต Pure Spread เป็นส่วนประกอบหลักของ Ex Post Spread โดย Pure Spread คิดเป็น 71.42% ของ Ex Post Spreads ส่วนต้นทุนในการดำเนินงาน และต้นทุนที่เกิดจากกฎระเบียบไม่เป็นสัดส่วนประกอบหลักโดยพบ ว่าจะเป็นส่วนประกอบเพียงบางไตรมาส และพบว่าธนาคารขนาดใหญ่ได้รับ Ex Post Spreads ที่มากกว่าธนาคารขนาดกลางและเล็ก ส่วนในช่วงระหว่างเกิดวิกฤต ผลการศึกษา Ex Post Spreads ไม่มีความสัมพันธ์กับ Pure Spread ต้นทุนในการดำเนินงาน ต้นทุนที่เกิดจากกฎระเบียบและขนาดของธนาคาร ผลการศึกษาปัจจัยกำหนด Pure Spread พบว่าในช่วงก่อนเกิดวิกฤต Pure Spread ในทุกกลุ่มธนาคารมีความสัมพันธ์เป็นบวกอย่างมีนัยสำคัญกับตัวแปร Pure Spread ในไตรมาสที่ผ่านมา แต่มีความสัมพันธ์เป็นลบอย่างมีนัยสำคัญกับตัวแปรทัศนคติต่อความเสี่ยงในการเกิดหนี้ไม่ก่อให้เกิดรายได้ สำหรับในช่วงระหว่างวิกฤต Pure Spread ของทังระบบธนาคารไม่ขึ้นอยู่กับตัวแปรความผันผวนในอัตราดอกเบี้ย,ตัวแปรทัศนคติต่อความเสี่ยงในการเกิดหนีไม่ก่อให้เกิดรายได้,ตัวแปรอัตราการกระจุกตัวในตลาดสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์และ Pure Spread ในไตรมาสที่ผ่านมา แต่เมื่อพิจารณาแยกกลุ่มธนาคารพบว่า Pure Spread ในกลุ่มธนาคารขนาดใหญ่มีความสัมพันธ์เป็นบวกอย่างมีนัยสำคัญกับตัวแปรอัตราการกระจุกตัวในตลาดสินเชื่อของธนาคารพาณิชย์ และมี ความสัมพันธ์เป็นลบอย่างมีนัยสำคัญกับตัวแปร Pure Spread ในไตรมาสทีผ่านมา ส่วน Pure Spread ในกลุ่มธนาคารขนาดกลางและเล็ก มีความสัมพันธ์เป็นลบอย่างมีนัยสำคัญกับตัวแปรความ ผันผวนของอัตราดอกเบี้ยและ Pure Spread ในไตรมาสที่ผ่านมา-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this study is to analyze determinants of Thai Commercial banks ‘interest rate spread. The study decomposes the pure spread, which is the true compensation for financial intermediaries, out of expost interest spread. The study employes OLS method and the data from quarterly financial statements of 13 Thai Comercial Banks from 1992 to 2001. The result shows that, before the crisis, the size of pure spread is about 71.42% of the ex post spread. While operation cost and regulation cost are statistically significant components of expost spread in a few quarters. Moreover, the large banks receive larger expost spread than medium and small banks. During the economic crisis, LX post spread does not have a statistically significant depends on pure spread, operation cost, regulation cost and the size of bank In addition, the study found that, before the crisis, pure spread is statistically significant positive depend on its lag for both large banks and small and medium banks. While it is negatively correlated with loan provision for doubtful debt. During the crisis period, the pure spread of the whole banking system cannot be explained by any determinants For large banks, pure spread is positively determined by the concentration ratio in bank loan market and negatively depends on its lag. For the group of medium and small banks, the pure spread is negatively correlated with the variance of interest rate and its lag.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.536-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอัตราดอกเบี้ย-
dc.subjectธนาคารและการธนาคาร-
dc.subjectธนาคารพาณิชย์ -- ไทย-
dc.subjectInterest rates-
dc.subjectBanks and banking-
dc.titleปัจจัยกำหนดส่วนต่างอัตราดอกเบี้ยธนาคารพาณิชย์ไทยen_US
dc.title.alternativeDeterminants of Thai Commercial banks interest rate spreaden_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSothitorn.M@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.536-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Garn_ma_front_p.pdf788.77 kBAdobe PDFView/Open
Garn_ma_ch1_p.pdf789.9 kBAdobe PDFView/Open
Garn_ma_ch2_p.pdf1.21 MBAdobe PDFView/Open
Garn_ma_ch3_p.pdf898.52 kBAdobe PDFView/Open
Garn_ma_ch4_p.pdf714.74 kBAdobe PDFView/Open
Garn_ma_ch5_p.pdf1.16 MBAdobe PDFView/Open
Garn_ma_ch6_p.pdf775.77 kBAdobe PDFView/Open
Garn_ma_back_p.pdf1.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.