Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6440
Title: ผลของการรับรู้ความสามารถของตนและการฝึกกำหนดลมหายใจต่อความเร็วในการวิ่งระยะสั้นของนักเรียนโรงเรียนกีฬา
Other Titles: The effect of self-efficacy and deep breath training on short-running speed of sport school students
Authors: อัจศรา ประเสริฐสิน
Advisors: สมโภชน์ เอี่อมสุภาษิต
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา
Advisor's Email: Sompoch.I@chula.ac.th
Subjects: ความสามารถในตนเอง
การวิ่ง
การหายใจ
Issue Date: 2546
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงผลของการรับรู้ความสามารถของตนและการฝึกกำหนดลมหายใจต่อเวลาในการวิ่งระยะสั้นของนักเรียนโรงเรียนกีฬา กลุ่มตัวอย่างเป็นนักเรียนโรงเรียนกีฬา กรุงเทพมหานคร จำนวน 24 คน แบ่งเป็น กลุ่มควบคุมและกลุ่มทดลอง กลุ่มละ 12 คน การทดลองใช้ ABA control group design ใช้สถิติ t-test และ binomial test ในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัยพบว่า 1. นักกีฬาวิ่งระยะสั้นที่ได้รับการฝึกจะมีการรับรู้ความสามารถของตนสูงกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักกีฬาวิ่งระยะสั้นที่ได้รับการฝึกให้รับรู้ความสามารถของตนและการฝึกกำหนดลมหายใจจะใช้เวลาในการวิ่งน้อยกว่ากลุ่มที่ไม่ได้รับการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. หลังจากที่ได้รับการฝึกนักกีฬาวิ่งระยะสั้นจะมีการรับรู้ความสามารถของตนสูงกว่าก่อนที่จะได้รับการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4. หลังจากที่ได้รับการฝึกให้รับรู้ความสามารถของตนและการฝึกกำหนดลมหายใจแล้ว นักกีฬาวิ่งระยะสั้นจะใช้เวลาในการวิ่งลดลงกว่าก่อนได้รับการฝึก อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
Other Abstract: The purpose of this research was to study the effect of self-efficacy and deep breath training on the short-distance running speeds of sports school students. The subjects comprised 24 students in a sports school in Bangkok. All of them were divided into experimental group and control group with 12 each. An ABA control group design was applied. The data was analyzed using a t-test and a binomial test. Results were as follows: 1. Trained sprinters had significantly more self-efficacy than untrained sprinters (p<.05). 2. Trained sprinters had significantly faster short-distance running speeds than untrained sprinters (p<.05). 3. Sprinters had significantly more self-efficacy after training than before training (p<.05). 4. Sprinters had significantly faster short-distance running speeds after training than before training (p<.05).
Description: วิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546
Degree Name: ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: จิตวิทยาพัฒนาการ
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6440
ISBN: 9741748663
Type: Thesis
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Ujsara.pdf2.3 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.