Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64416
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัญนุช เกรียงไกรพิพัฒน์-
dc.contributor.authorเบญญาภา รักท้วม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-24T08:03:50Z-
dc.date.available2020-03-24T08:03:50Z-
dc.date.issued2561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64416-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561en_US
dc.description.abstractการคัดแยกรา Phytophthora meadii จากไอโซเลตที่มี Phytophthora สปีชี่ย์อื่นผสมอยู่ซึ่งมาจากจังหวัดตราด และ ระยอง โดยแยกได้ทั้งหมด 3 ไอโซเลต คือ L116-1-1, 77-1-2-2 และ 77-1-2-4 เมื่อศึกษาสัณฐานวิทยา ได้แก่ รูปแบบโคโลนี แบบกระจาย ลักษณะซูโอสปอร์แรงเจียมมี papillum ชัดเจน มีรูปร่างแบบ obpyriform ขนาด ยาว 39.42 ถึง 47.69 ไมโครเมตร (เฉลี่ย 43.56 ไมโครเมตร) กว้าง 27.95 ถึง 31.33 ไมโครเมตร (เฉลี่ย 29.64 ไมโครเมตร) อัตราส่วนความยาวและความกว้าง 1.41-1.59 ความง่ายในการหลุดจากก้านชูสปอร์ (caducity) พบว่าเป็นแบบ caducus มี pedicel ยาว 14.67 ถึง 16.33 ไมโครเมตร (เฉลี่ย 15.56 ไมโครเมตร) การศึกษาทางพันธุศาสตร์โมเลกุลโดยใช้วิธี Nested polymerase chain reaction (Nested PCR) เลือกใช้ไพรเมอร์ 2 คู่คือ ITS1/ITS4 และ A2/I2 พบว่าทั้ง 3 ไอโซเลตอยู่ในจีนัส Phytophthora หลังยืนยันด้วยการหาลำดับนิวคลีโอไทด์บริเวณ ITS และเปรียบเทียบกับฐานข้อมูลสร้างแผนภูมิต้นไม้แบบ neighbor joining tree พบว่ามีความคล้ายกับ P. meadii และ Phytophthora colocasiae ซึ่งอยู่ใน clade 2a แต่เมื่อพิจารณาร่วมกับลักษณะทางสัณฐานวิทยาคาดว่าทั้ง 3 ไอโซเลตเป็นรา P. meadii นอกจากนี้ยังได้ศึกษาการเจริญของรา P. meadii ที่อุณหภูมิต่าง ๆ พบว่าราสามารถเจริญได้ดีที่สุดคืออุณหภูมิ 28 องศาเซลเซียส โดยมีอัตราการเจริญอยู่ที่ 10.99-14.32 มิลลิเมตรต่อวัน และไม่เจริญ ที่อุณหภูมิ 7 และ 37 องศาเซลเซียส การศึกษาความรุนแรงในการก่อโรคโดยวิธี Detached leaf assay ด้วยซูโอสปอร์ พบว่าทั้ง 3 ไอโซเลต สามารถก่อโรคในใบยางพาราen_US
dc.description.abstractalternativeThis study identify P. meadii from laboratory collections of Phytophthora infecting para rubber tree from Trat and Rayong Provinces, Thailand. Three isolates named L116-1-1, 77-1-2-2 and 77-1-2-4 were studied. Colony patterns of all isolates were stellate The sporangia were papillate with obpyriform shape, 39.42 to 47.69 μm long (average 43.74) x 27.95 to 31.33 μm wide (average 28.99 μm) and length:width ratio was 1.41-1.59 and caducus (pedicel is 14.67 to 16.33 μm). Molecular study using Nested polymerase chain reaction (Nested PCR) with ITS1 / ITS4 primers specific to fungi and fungus-like organism and A2 / I2 primers specific to the genus Phytophthora found that all 3 isolates belong to genus Phytophthora . Phylogenetic tree using nucleotide sequence of ITS region showed that all 3 isolates were closely related to P. meadii and Phytophthora colocasiae of clade 2a. However, combining with morphology, the 3 isolates were identified as P. meadii. The 3 isolates grew best 28C. at the rate of 10.99-14.32 mm/day. Study on pathogenesis using Detached leaf assay by zoospore infection showed that all 3 isolates could infect the rubber leaves.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการจำแนกด้วยลักษณะทางสัณฐานวิทยาและอณูวิทยาของ Phytophthora meadii จากต้นยางพาราen_US
dc.title.alternativeMorphological and molecular identification of Phytophthora meadii from para rubber treeen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorThanyanuch.K@chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Benyapa R_Se_2561.pdf2.5 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.