Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคัดนางค์ มณีศรี-
dc.contributor.authorวิไลลักษณ์ รุ่งเรืองอนันต์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2020-03-28T13:19:33Z-
dc.date.available2020-03-28T13:19:33Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740302831-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64494-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจสอบผลของความใกล้ชิด (ความใกล้ชิดมากและความใกล้ชิดน้อย) และการรับรู้ความรุนแรงของสถานการณ์ (ความรุนแรงมากและความรุนแรง น้อย) ต่อการให้อภัยระหว่างบุคคลทีมความสัมพันธ์ฉันเพื่อน ผู้ร่วมการวิจัยเป็นนิสิตระดับปริญญาตรี เพศชาย 101 คน และเพศหญิง 139 คน ผู้วิจัยขอให้ผู้ร่วมการวิจัยระลึกถึงคนๆ หนึ่งที่เคยทำให้ตนโกรธเคือง (สถานการณ์โกรธเคือง) หรือเสียใจ (สถานการณ์เสียใจ) ในอดีต จากนั้นให้ตอบมาตรวัดการให้อภัยระหว่างบุคคลแบบรายงานตนเอง Transgression-Related Interpersonal Motivations Inventory (TRIM) ผลการวิจัยพบว่า 1. ทั้งในสถานการณ์ที่ทำให้โกรธเคืองและสถานการณ์ที่ทำให้เสียใจ ความใกล้ชิดในระดับสูงมีการให้อภัยมากกว่าความใกล้ชิดในระดับตํ่าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001) 2. ทั้งในสถานการณ์ที่ทำให้โกรธเคืองและสถานการณ์ที่ทำให้เสียใจ การรับรู้สถานการณ์ว่ามีความรุนแรงน้อยมีการให้อภัยมากกว่าการรับรู้สถานการณ์ว่ามีความรุนแรงมากอย่างมีนัย สำคัญทางสถิติ (p < .001) 3. สถานการณ์ที่ทำให้เสียใจมีระดับการให้อภัยมากกว่าสถานการณ์ที่ทำให้โกรธเคืองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .001)-
dc.description.abstractalternativeThe present study was designed to examine the effect of closeness (high vs. low) and perceived severity of situations (high vs. low) on interpersonal forgiving in friendship. Participants were 101-male and 139-female undergraduate students. They were asked to think of one person who had either angered (anger situation) or sadden (sadness situation) them in the past and then completed the Trangression-Related Interpersonal Motivations Inventory (TRIM), a self-report measure designed to assess the interpersonal forgiving. Results are as follows: 1. Both in anger and sadness situations, forgiving is significantly higher in high level of closeness than in low level of closeness (p < .001). 2. Both in anger and sadness situations, forgiving is significantly higher when perceived severity of the situation is low than is high (p < .001 ). 3. Forgiving is significantly higher in the sadness situation than in the anger situation (p < .001).-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.670-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการให้อภัย-
dc.subjectมิตรภาพ-
dc.subjectForgiveness-
dc.subjectFriendship-
dc.titleผลของความใกล้ชิดและการรับรู้ความรุนแรงของสถานการณ์ ต่อการให้อภัยระหว่างบุคคลที่มีความสัมพันธ์ฉันเพื่อนen_US
dc.title.alternativeEffects of closeness and perceived severity of situations on interpersonal forgiving in friendshipen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาสังคมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKakanang.M@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.670-
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wilailuk_ru_front_p.pdfหน้าปก และ บทคัดย่อ750.83 kBAdobe PDFView/Open
Wilailuk_ru_ch1_p.pdfบทที่ 11.16 MBAdobe PDFView/Open
Wilailuk_ru_ch2_p.pdfบทที่ 2803.81 kBAdobe PDFView/Open
Wilailuk_ru_ch3_p.pdfบทที่ 3803.33 kBAdobe PDFView/Open
Wilailuk_ru_ch4_p.pdfบทที่ 4721.58 kBAdobe PDFView/Open
Wilailuk_ru_ch5_p.pdfบทที่ 5683.38 kBAdobe PDFView/Open
Wilailuk_ru_back_p.pdfบรรณานุกรม และ ภาคผนวก1.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.