Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64499
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธัชชัย ศุภผลศิริ-
dc.contributor.advisorยรรยง พวงราช-
dc.contributor.authorวรปราณี สิทธิสรวง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-03-28T15:01:06Z-
dc.date.available2020-03-28T15:01:06Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740313736-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64499-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงลักษณะของการกระทำต่างๆ อันเป็นการละเมิดสิทธิบัตรการประดิษฐ์ และหลักกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการคุ้มครองสิทธิบัตร เพื่อนำมาวิเคราะห์หาความเหมาะสมแก่การคุ้มครองสิทธิบัตรและป้องกันการละเมิดสิทธิบัตร รวมทั้งการนำคดีขึ้นสู่ศาล ทั้งนี้ เนื่องจากบทบัญญัติของกฎหมายในเรื่องต่างๆ ที่กล่าวมายังไม่มีความชัดเจนในบางกรณี ทำให้ไม่เพียงพอแก่การคุ้มครองสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตร และการพิจารณาพิพากษาไม่เป็นมาตรฐานเดียวกันเท่าที่ควร จากการศึกษาพบว่าปัญหาที่เกี่ยวกับบทบัญญัติมี 2 ประการ คือ ประการแรก ความไม่ชัดเจนของตัวบทกฎหมาย ผู้เขียนได้ศึกษากฎหมายและคำพิพากษาของศาลต่างประเทศ และได้วางแนวทางที่เหมาะสมกับประเทศไทย นอกจากนี้ ผู้เขียนเสนอให้มีการแก่ไขกฎหมายโดยให้มีความยืดหยุ่นต่อการใช้บังคับในส่วนของบทบัญญัติที่เกี่ยวกับลักษณะการละเมิดและสิ่งที่ได้รบความคุ้มครองตามสิทธิบัตร ในกรณีที่การตีความจะเป็นการขยาย ขอบเขตสิทธิของผู้ทรงสิทธิบัตรควรใช้การตีความอย่างแคบ ส่วนหลักการระงับสิ้นไปของสิทธิในทรัพย์สินทางปัญญาควรใช้หลักระหว่างประเทศ และการกำหนดความร้ายแรงของความเสียหายให้คำนวณจากส่วนกำไรของจำเลยโดยถือว่าผลกำไรของจำเลยคือความเสียหายที่โจทก์ได้รับ อีกทั้ง การกำหนดค่าเสียหายเชิงลงโทษในกรณีที่ผู้กระทำละเมิดไม่เข็ดหลาบ ประการที่สอง คือ กรณีที่กฎหมายไม่มิบทบัญญัติไว้ ผู้เขียนเสนอให้มีการเพิ่มเติมบทบัญญัติเกี่ยวกับการละเมิดโดยอ้อม และการเรียกค่าเสียหายที่เกี่ยวเนื่องหรือค่าเสียหายขั้นรอง (Parasitic Damages or Secondary Damages) ก็เป็นการชดเชยความเสียหายได้ประการหนึ่ง และการกำหนดให้การใช้โดยส่วนตัวเป็นข้อยกเว้นการละเมิดสิทธิบัตร เพื่อให้สอดคล้องกับเจตนารมณ์ของกฎหมายสิทธิบัตร-
dc.description.abstractalternativeThe study is aimed at analyzing various conducts. leading to invention patents infringement and general principles of law relevant to patent protection to search for appropriate mean for patent protection and for patent infringement prevention, including proper mean of taking the case to the court. At present, evidence of provision laws is not adequately conclusive for protecting the patentee, and verdicts of various courts are not yet on the same standard. The study reveals that there are two constraints of the law provisions. Firstly, even though the law stipulates provisions of interpretation of infringement. The author reviewes relevant laws and judicial decisions in the United States, United Kingdom and Japan and proposes appropriate criteria for Thailand. Beside, the author recommends that the Patent law B.E 2542 be amended to be more flexibility with respect to infringement and patentability. Should the application of law result in the extension of rights, strict interpretation should apply. International exhauation shall apply in case of the exhaustion of intellectual property rights and the calculation of the profit of the defendant and be taken that the defendant profit is the damage claim of the plaintiff's determination of claim by mean of penalization in the case of unterrified infringe is also suggested. Secondly, the patent law does not have clearcut infringement provisions. The author suggest that additional provision of indirect infringement be stipulated and that a claim for parasitic damages or secondary damages be considered as another mean of damages claim. Personal use of the invention should be excused from infringement in order to comply with the substance of the patent law.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectสิทธิบัตร-
dc.subjectสิ่งประดิษฐ์ -- สิทธิบัตร-
dc.subjectการละเมิดสิทธิบัตร-
dc.subjectกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ -- ละเมิด-
dc.subjectกฎหมายสิทธิบัตร-
dc.subjectPatents-
dc.subjectInventions -- Patents-
dc.subjectPatent infringement-
dc.subjectCivil and commercial law -- Torts-
dc.subjectPatent laws and legislation-
dc.titleการกระทำอันเป็นการละเมิดสิทธิบัตรการประดิษฐ์en_US
dc.title.alternativeInvention patents infringementen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Worapranee_si_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ896.04 kBAdobe PDFView/Open
Worapranee_si_ch1_p.pdfบทที่ 1744.54 kBAdobe PDFView/Open
Worapranee_si_ch2_p.pdfบทที่ 21.3 MBAdobe PDFView/Open
Worapranee_si_ch3_p.pdfบทที่ 33.08 MBAdobe PDFView/Open
Worapranee_si_ch4_p.pdfบทที่ 41.32 MBAdobe PDFView/Open
Worapranee_si_ch5_p.pdfบทที่ 52.1 MBAdobe PDFView/Open
Worapranee_si_ch6_p.pdfบทที่1.01 MBAdobe PDFView/Open
Worapranee_si_back_p.pdfบรรณานุกรมและภาคผนวก723.56 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.