Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64613
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorกิตติ กันภัย-
dc.contributor.authorสายใจ ลีลาขจรจิต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิเทศศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-03T20:15:40Z-
dc.date.available2020-04-03T20:15:40Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.issn9741717989-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64613-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (นศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractการศึกษาเรื่องการสร้างสัมพันธภาพเชิงบวกในอินเทอร์เน็ต เป็นการวิจัยเชิงพรรณาวิเคราะห์ โดยใช้วิธีการรวบรวมข้อมูลการสนทนาจากห้องสนทนาในเว็บไซต์ http://www.thaimate.com http://www.sanook.com และ http://www.yumyai.com การวิจัยในครั้งนี้มีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาถึงกระบวนการสื่อสารเพื่อการสร้างสัมพันธภาพเชิงบวก รูปแบบการสื่อสารในการสร้าง สัมพันธภาพและศึกษาถึงบทบาทของอินเทอร์เน็ตต่อการสร้างสัมพันธภาพเชิงบวก โดยระเบียบวิธี การวิจัยที่ใช้ คือ การวิเคราะห์เนื้อหา (Content analysis) และการสัมภาษณ์เจาะลึก (ln-dept interview) ผลการวิจัยพบว่า กระบวนการสื่อสารเพื่อสร้างสัมพันธภาพเชิงบวกในอินเทอร์เน็ต มีขั้นตอนดังนี้ การเลือกเว็บไซต์ การเข้าสู่เว็บไซต์ การกำหนดอัตลักษณ์ การเลือกคู่สนทนา การสนทนา การพัฒนาสัมพันธภาพ และการออกจากห้องสนทนา การสร้างและการยุติสัมพันธภาพเกิดขึ้นได้ใน ทุกขั้นตอนด้วยอิทธิพลจากปัจจัยแวดล้อมต่าง ๆ และคู่สนทนาเองด้วย ผลการวิจัยเกี่ยวกับรูปแบบการสื่อสารเพื่อสร้างพันธภาพเชิงบวกในอินเทอร์เน็ต พบว่ามีรูปแบบการใช้ภาษาเขียน เช่น การใช้คำซ้ำ การเขียนเลียนแบบภาษาพูด ฯลฯ การใช้ปริภาษา เช่น การใช้ความเข้มของอักษร การใช้สีของตัวอักษร และการใช้สัญลักษณ์อื่น ๆ ที่ไม่ใช่ภาษาในการแสดงออกถึงมิตรภาพที่มีต่อคู่สนทนา ผลการวิจัยพบว่าเทคโนโลยีของคอมพิวเตอร์มีบทบาทในการสร้างสัมพันธภาพเชิงบวก ด้วยคุณลักษณะในเรื่องความเป็นอิสระไร้การควบคุม ไม่ติดปัญหาเรื่องระยะเวลา สถานที่ คุณสมบัติด้านการปฏิสัมพันธ์ได้ทันที และมีดวามเป็นส่วนตัว การสื่อสารเพื่อสร้างสัมพันธภาพเชิงบวกในอินเทอร์ เน็ต เป็นการสร้างสัมพันธภาพคล้ายสังคมจริง แต่เกิดขึ้นในอินเทอร์เน็ตซึ่งเป็นชุมชนเสมือน-
dc.description.abstractalternativeThe study about Communication for Positive Relationship Construction on Internet is the analytical research. The study is focused on 3 websites as following http://www.thaimate.com , http://www.sanook.com and http://www.yumuai.com. The objectives of this research are to study and explore the communication process ,pattern of communication and technology of computer to develop the human relationship. The content analysis technique was employed to discover the communication process. Furthermore in-dept interview and field research were used to study the pattern of communication. The conclusion of this research are as follows:. The Communication process can identified into 6 steps ; selecting website. Penetrate into website, identity creation, choosing, communication and relationship development steps. The relationship be able to occurred or stopped in any steps. The Pattern of Communication is composed of language, paralanguage and symbols. The relationship need a while contact duration to develop the relationship between one to one or one to many persons. Internet has an influence to communication for positive relationship construction on intemet because its special characteristics has increased the communication between users. The positive relationship on intement can be occurred and proved to an real pheonomena in the real world.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.512-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการสื่อสารen_US
dc.subjectสัมพันธภาพen_US
dc.subjectความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลen_US
dc.subjectการสนทนาผ่านอินเทอร์เน็ตen_US
dc.subjectวจนะวิเคราะห์en_US
dc.subjectCommunicationen_US
dc.subjectFellowshipen_US
dc.subjectInterpersonal relationsen_US
dc.subjectInternet Relay Chaten_US
dc.subjectDiscourse analysisen_US
dc.titleการสื่อสารเพื่อสร้างสัมพันธภาพเชิงบวกในอินเทอร์เน็ตen_US
dc.title.alternativeCommunication for positive relationship construction on interneten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิเทศศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการสื่อสารมวลชนen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorKitti.G@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.512-
Appears in Collections:Comm - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Saijai_le_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ858.49 kBAdobe PDFView/Open
Saijai_le_ch1_p.pdfบทที่ 1915.52 kBAdobe PDFView/Open
Saijai_le_ch2_p.pdfบทที่ 21.18 MBAdobe PDFView/Open
Saijai_le_ch3_p.pdfบทที่ 3701.18 kBAdobe PDFView/Open
Saijai_le_ch4_p.pdfบทที่ 46.06 MBAdobe PDFView/Open
Saijai_le_ch5_p.pdfบทที่ 52.11 MBAdobe PDFView/Open
Saijai_le_ch6_p.pdfบทที่ 6982.18 kBAdobe PDFView/Open
Saijai_le_ch7_p.pdfบทที่ 7850.65 kBAdobe PDFView/Open
Saijai_le_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก993.41 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.