Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64750
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเฟื่องอรุณ ปรีดีดิลก-
dc.contributor.authorชัชชญา คอร์เรีย-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-05T07:08:33Z-
dc.date.available2020-04-05T07:08:33Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64750-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) วิเคราะห์กระบวนบ่มเพาะของครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงอย่างยั่งยืนให้แก่เด็ก 2) วิเคราะห์ปัจจัยสนับสนุนและเงื่อนไขอุปสรรคของกระบวนบ่มเพาะของครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงอย่างยั่งยืนให้แก่เด็ก และ 3) นำเสนอแนวทางการส่งเสริมกระบวนการบ่มเพาะของครอบครัว สถานศึกษา และชุมชนเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงอย่างยั่งยืนให้แก่เด็ก ผลการวิจัยพบว่า 1. กระบวนการบ่มเพาะของครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงอย่างยั่งยืนให้แก่เด็ก มีขั้นตอน 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) ขั้นกระตุ้นความคิด 2) ขั้นวางแผน 3) ขั้นลงมือปฎิบัติ และ 4) ขั้นประเมินผล 2. ปัจจัยสนับสนุนของกระบวนการบ่มเพาะของครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงอย่างยั่งยืนให้แก่เด็ก มี 4 ด้าน ได้แก่ 1) ปัจจัยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกันตนเอง 2) ปัจจัยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว 3) ปัจจัยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับสถานศึกษา 4) ปัจจัยสนับสนุนที่เกี่ยวข้องกับชุมชน 3. เงื่อนไขอุปสรรคของกระบวนการบ่มเพาะของครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงอย่างยั่งยืนให้แก่เด็ก มี 2 ด้าน ได้แก่ 1) เงื่อนไขอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับ 2) เงื่อนไขอุปสรรคที่เกี่ยวข้องกับครอบครัว 4. แนวทางร่วมในการส่งเสริมกระบวนการบ่มเพาะของครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน เพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงอย่างยั่งยืนให้แก่เด็ก มี 2 ด้าน คือ ด้านกระบวนการบ่มเพาะ มี 5 ขั้นตอนได้แก่ 1) สร้างความตระหนักรู้ถึงความสำคัญของการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 2) สร้างกระบวนการวางแผนของเด็กตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 3) กระตุ้นการลงมือปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 4) สะท้อนการเรียนรู้ของเด็กหลังการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง 5) ติดตามและประเมินผลของการปฏิบัติตนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง  ด้านการมีส่วนร่วม คือ สร้างการมีส่วนร่วมระหว่างครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are to 1) analyze processes of the sustainable cultivating process of family, school and community to enhance the sufficiency behavior of children, 2) analyze supporting factors and obstacle conditions of the sustainable cultivating process of family, school and community to enhance the sufficiency behavior of children, and 3) present guidelines for the promoting sustainable cultivating process of family, school and community to enhance the sufficiency behavior of children. The results revealed that, 1. Cultivating process of family, school and community to enhance the sufficiency behavior of children consists of 4 steps which are 1) provoking thought, 2) plan, 3) action, and 4) evaluation. 2. Supporting factors related to cultivating process of family, school and community to enhance the sufficiency behavior of children consists of 4 factors which are 1) supporting factors related to oneself 2) supporting factors related to family 3) supporting factors related to school, and 4) supporting factors related to community 3. Obstacle conditions of cultivating process of family, school and community to enhance the sufficiency behavior of children consists of 2 aspects which are 1) obstacle condition related to oneself, and 2) obstacle condition related to family 4. Common guidelines for the promoting sustainable cultivating process of family, school and community to enhance the sufficiency behavior of children consists of 2 aspect. Aspect of participation consists of 5 steps which are 1) create awareness, 2) create children’ planning process, 3)stimulate children’ sufficiency behavior, 4) reflect the children’s learning after following the sufficiency economy philosophy, and 5) monitor and evaluate the performance of following the sufficiency economy philosophy. Aspect of participation is creating participation between family, school and community.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1027-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationSocial Sciences-
dc.titleแนวทางการส่งเสริมกระบวนการบ่มเพาะของครอบครัว สถานศึกษา และชุมชนเพื่อเสริมสร้างอุปนิสัยพอเพียงอย่างยั่งยืนให้แก่เด็ก-
dc.title.alternativeGuidelines for the promoting sustainable cultivating process of family, school and community to enhance the sufficiency behavior of children-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineพัฒนศึกษา-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorFuangarun.P@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.1027-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5883450527.pdf4.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.