Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/647
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | ขำคม พรประสิทธิ์, 2512- | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ภาควิชาดุริยางคศิลป์ | - |
dc.date.accessioned | 2006-07-07T09:18:10Z | - |
dc.date.available | 2006-07-07T09:18:10Z | - |
dc.date.issued | 2546 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/647 | - |
dc.description.abstract | เพลงเรื่องเป็นเพลงไทยประเภทหนึ่งที่ปรากฏมาตั้งแต่กรุงศรีอยุธยา เพลงฉิ่งเป็นเพลงเรื่องประเภทหนึ่ง ใช้ประกอบพิธีกรรมทางศาสนาขณะพระฉันอาหารโดยระหว่างพระฉันเช้าและพระฉันเพล ใช้เพลงแตกต่างกันไป พระฉันเช้าเป็นเพลงฉิ่งเรื่องใหญ่ เรียกกันว่า "พระฉิ่งพระฉัน" ใช้บรรเลงทั่วไปทุกสำนัก เพลงฉิ่งพระฉันเพล สำนักพาทยโกศลบรรเลงเพลงเรื่องกระบอกและเพลงพระยาพายเรือ กรมศิลปากรบรรเลงเพลงเรื่องกระบอก สำนักครูพุ่ม บาปุยะวาทย์บรรเลงเพลงเรื่องจิ้งจกทอง ตัวตนที่แท้จริงของเพลงฉิ่งเป็นเอกลักษณ์เฉพาะ ได้แก่ ลักษณะการดำเนินทำนองหลัก มีมือฆ้องเป็นลักษณะเฉพาะของตัวเอง ลักษณะทำนองที่มีความไม่ลงตัว ไม่แน่นอน ไม่เท่ากัน แต่สามารถนำมาเรียงร้อยต่อกันอย่างเหมาะสม มีการตัดทอนเพลงจากชุดทำนองที่ไม่ลงตัวอย่างเพลงประเภทอื่น ๆ ไปสู่ทำนองที่ละเอียดขึ้นได้ กระสวนของทำนองมีความเบาและสบาย เพลงเรื่องประเภทเพลงเร็วมีลักษณะใกล้เคียงกับเพลงเรื่องเพลงฉิ่งมากที่สุด แต่เพลงเร็วมีความลงตัวมากกว่าเพลงฉิ่ง เนื่องจากมีจังหวะหน้าทับควบคุม นอกจากนี้เพลงเร็วยังมีความเข้มข้นและหนักแน่นมากกว่า คุณสมบัติร่วมระหว่างเพลงเร็วกับเพลงฉิ่ง ได้แก่ เนื้อทำนองหลักมีการตีแบบ "ลักษณะจังหวะสะบัด" "ตีคู่แปด" มีท่วงทำนอง "โยน" ประกอบโดยทั่วไปและส่วนใหญ่มักพบในตอนท้ายของทุก ๆ ท่อน มักมีการซ้ำประโยคแต่ละประโยค 2 ครั้งเสมอ เนื้อทำนองหลักมีการบังคับมือให้ถี่ขึ้นกว่าปกติ เพลงฉิ่งอัตราชั้นเดียว ใช้ประกอบการแสดงในการชมธรรมชาติของตัวละคร และมีการนำเพลงฉิ่งมุล่งใช้เป็นบทเพลงฝึกทักษะในการไล่มือกันอย่างแพร่หลายจากอดีตจนถึงปัจจุบัน | en |
dc.description.abstractalternative | Pleng ruang is category of Thai traditional songs, which can be traced to the Ayuthaya period (1351-1767). Pleng ruang pleng ching is a subcategory of pleng ruang genre, which is played at Buddhist rituals during the time when monks are having food offerings. The songs accompanying morning meals is different from the corpus for luncheon offerings. Prachan caho is the Great pleng ching known as "pleng ching pra chan". and it is played as music for morning meals by every 'musical house'. As for luncheon offerings, the choice of music is varied. Musicians of Paathayakoson House played pleng ruang krabok and pleng ruang praya pai rua. Musicians of Department of Fine Arts played ruanf krabok wheras those of Kru Poom Papuyawathaya played pleng ruang jingjonk thong. The musical characteristics of pleng ruang are unique. Melodic formulae for the basic melody show its own characteristics. The melodic phrases make use of different patterns, which are not identical in terms of length. The unit of melodic phrases is also found to be undetermined and unresolved. However, they could be arranged appropriately into a song. The melodies do not emphasize functions of downbeat rhythm therefore the effects could be described as relaxed and light. The musical characteristics of pleng ruang pleng relw is more similar to pleng ruang pleng ching than other kinds. The musical unit of pleng pleng relw is more complete in that it is governed by the number of rhythmic cycles in each section. In addition, the style of pleng pleng relw is more intense and heavy. Pleng relw and pleng ching share one particular characteristic; passage of melodic formulae for the basic melodies are free from the constrains of regular rhythmic structure. Passages of both kinds share the use of song circle techniques known as lak chang wa, sabad, and tee koo pad. Each section generally ends with yon melody. Within each section, a musical phrase is always repeated. The basic melody is also found to be in closely spaced stype. Pleng ching in chan deo has it use drama and theatrical performance. It is played when a character is enjoying the beauty of nature. Pleng ching mulong is widely known as a piece for fingering exercise and etude. | en |
dc.description.sponsorship | กองทุนรัชดาภิเษกสมโภช | en |
dc.format.extent | 29415789 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | เพลงฉิ่ง | en |
dc.subject | เพลงเรื่อง | en |
dc.subject | เพลงไทย | en |
dc.title | อัตลักษณ์ของเพลงฉิ่ง : รายงานผลการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Pleng Ching: the study of history and styles | en |
dc.type | Technical Report | en |
dc.email.advisor | Kumkom.P@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Fine Arts - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kumkom.pdf | 24.86 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.