Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorตรีศิลป์ บุญขจร-
dc.contributor.advisorชุติมา ประกาศวุฒิสาร-
dc.contributor.authorจิราภรณ์ อัจฉริยะประสิทธิ์, 2523--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์-
dc.coverage.spatialพม่า-
dc.coverage.spatialฉาน-
dc.date.accessioned2006-05-26T13:07:21Z-
dc.date.available2006-05-26T13:07:21Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.isbn9741766661-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/64-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en
dc.description.abstractศึกษาบทบาทสตรีในพื้นที่ส่วนตัวและพื้นที่สาธารณะในเรื่องเล่าประสบการณ์ชีวิต 3 เรื่อง ได้แก่ Twilight over Burma: My life as a Princess (1994) ของ Inge Sargent, The White Umbrella (1999) ของ Partricia Elliott, and My Vanished World: the True Story of a Shan Princess (2000) ของ Nel Adam รวมทั้งศึกษาองค์ประกอบวรรณกรรม และบริบททางสังคมวัฒนธรรมและการเมืองไทใหญ่ในเรื่องเล่านี้ด้วย ผลการศึกษาสรุปว่า งานเขียนทั้ง 3 ชิ้นแสดงให้เห็นบทบาทของสตรีราชสำนักไทใหญ่ ในพื้นที่ส่วนตัวและพื้นที่สาธารณะ บทบาทของสตรีราชสำนักไทใหญ่ในพื้นที่ส่วนตัว คือบทบาทในครอบครัว ทั้งในสถานภาพความเป็นลูก เป็นภรรยาและเป็นแม่ โดยสตรีสามารถขึ้นเป็นผู้นำครอบครัวและมีอำนาจตัดสินใจมากขึ้น ส่วนบทบาทสตรีในพื้นที่สาธารณะ คือบทบาททางสังคมและการเมือง สตรีราชสำนักไทใหญ่ได้ก้าวขึ้นเป็นผู้นำ เรียกร้องความเป็นธรรมและเอกราชไทใหญ่ และมีบทบาททางการเมืองและสังคม บทบาทที่เกิดขึ้นผูกติดอยู่กับบริบททางสังคมการเมืองที่เปลี่ยนแปลงไป บทบาทของสตรีที่เกิดขึ้นยังแสดงให้เห็นว่า พื้นที่ส่วนตัวและพื้นที่สาธารณะไม่สามารถแยกออกจากกันได้ โดยเฉพาะการเป็นสตรีราชสำนักไทใหญ่ การเป็นสตรีราชสำนักไทใหญ่ทำให้เรื่องส่วนตัวกลายเป็นเรื่องการเมือง เพราะบทบาทที่เกิดขึ้นส่วนหนึ่งถูกกำหนดจากเงื่อนไขหรือปัจจัยของสังคม เช่น การแต่งงานที่มีนัยยะทางการเมืองเพื่อเอื้อผลประโยชน์ต่อกันในอนาคต หรือการใช้งานครัวหรือการสมาคมเพื่อเชื่อมสัมพันธ์ระหว่างเมืองหรือระหว่างประเทศ เป็นต้น ด้านการศึกษาองค์ประกอบวรรณกรรมพบว่า งานเขียนทั้ง 3 ชิ้น มีลักษณะเป็นเรื่องเล่าที่อิงกับประสบการณ์ของสตรีราชสำนักไทใหญ่ ที่ชี้ให้เห็นผลกระทบอันรุนแรงในสมัยนายพลเนวินเข้าปกครอง ซึ่งทำให้ครอบครัวผู้ประพันธ์และสังคมไทใหญ่ล่มสลาย พร้อมกันนี้ยังเรียกร้องความเป็นธรรมจากรัฐบาลพม่า โดยใช้เรื่องเล่าเป็นเครื่องมือ ดังนั้น ผู้ประพันธ์จึงใช้รูปแบบผสมคือนำงานเขียนทางประวัติศาสตร์ งานเขียนทางชาติพันธุ์ ตำนานผนวกเข้ากับเรื่องเล่าเชิงอัตชีวประวัติ เพื่อนำเสนอประสบการณ์และถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกของตนen
dc.description.abstractalternativeTo study women's roles in private and public spheres from three narratives: Twilight over Burma: My life as a Princess (1994) by Inge Sargent, The White Umbrella (1999) by Partricia Elliott, and My Vanished World: the True Story of a Shan Princess (2000) by Nel Adam. Another objective of this thesis is to study literary elements and social, cultural, and political contexts of those narratives. From the study, it can be concluded that all three stories illustrate roles of Shan royal ladies in both private and public spheres. In the private sphere, the stories show how their roles as daughters, wives, and mothers had been changed as those ladies became leaders of their families and as they had more power in making decisions. In the public sphere related to social and political issues, Shan royal ladies had played a leading role in calling on Shan people's rights and freedom from the Burmese government. Their existing roles depend on the changing social and political contexts. As a result, the narratives showed that women's roles in the private and public spheres could not be separated, especially for Shan royal ladies. Being Shan royal ladies, their private lives inevitably became politic. Therefore, parts of their roles were determined by social conditions such as marriage for political reasons and mutual benefit in the future or socialization and catering for establishing international relationship. As for literary elements, the narratives, based on experiences of Shan royal ladies, show the effects of political persecution during the General Newin regime, which resulted in the ruin of the authors' families and the Shan State. At the same time, the authors employed their writing as a means to appeal for justice from the Burmese government. To accomplish this purpose, the authors combined historical writing, ethnography, myth and fiction with autobiographical elements to present their experiences and to express their thoughts and feelingsen
dc.format.extent11972055 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.167-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectสตรี--ฉาน (พม่า)en
dc.subjectไทยใหญ่--ความเป็นอยู่และประเพณีen
dc.subjectสตรีในวรรณกรรมen
dc.subjectนักประพันธ์สตรีen
dc.titleสตรีราชสำนักไทใหญ่ในเรื่องเล่าของนักเขียนสตรีร่วมสมัย : การศึกษาบทบาทของผู้หญิงในพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ส่วนตัวen
dc.title.alternativeShan royal ladies in narratives by contemporary women writers : a study of women's role in public and private spheresen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวรรณคดีเปรียบเทียบen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorTrisilpa.B@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.167-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jiraporn_Ad.pdf2.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.