Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65096
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorโอฬาร กิตติธีรพรชัย-
dc.contributor.authorภัทรพันธุ์ อังอติชาติ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-05T09:18:51Z-
dc.date.available2020-04-05T09:18:51Z-
dc.date.issued2562-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65096-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2562-
dc.description.abstractในช่วงที่ผ่านมาองค์กรขนาดใหญ่ต่างเสนอสวัสดิการการตรวจสุขภาพประจำปี ณ สถานประกอบการเพื่ออำนวยความสะดวกสำหรับพนักงานและรักษาจำนวนพนักงานในแต่ละวัน อย่างไรก็ดีบริการการตรวจสุขภาพดังกล่าวนั้นแตกต่างจากโรงพยาบาลและเป็นเรื่องท้าทายของผู้ให้บริการในการกำหนดทรัพยากรเพื่อให้เหมาะสมกับจำนวนพนักงานในสภาพแวดล้อมที่ไม่คุ้นเคยดังเช่น โรงงานผลิตชิ้นส่วนอิเล็กทรอนิกส์กรณีศึกษาซึ่งดำเนินการผลิต 3 กะ  งานวิจัยชิ้นนี้มีเป้าหมายในการวิเคราะห์เชิงลึกเกี่ยวกับการไหลของพนักงานระหว่างการตรวจสุขภาพของโรงงานกรณีศึกษา เพื่อเปรียบเทียบผลของการจัดตารางตรวจคนไข้ การปรับจำนวนเจ้าหน้าที่ และลำดับสถานีของการตรวจสุขภาพนอกสถานที่ จากข้อมูลเบื้องต้นพบว่ากระบวนการเก็บตัวอย่างเลือดเป็นขั้นตอนวิกฤติเนื่องจากพนักงานต้องงดน้ำและอาหาร นอกจากนี้กระบวนการดังกล่าวต้องเสร็จก่อนการเริ่มทำงาน ในขณะที่กระบวนการตรวจสุขภาพอื่นสามารถทำได้ระหว่างเวลาพัก หรือ วันถัดมา ดังนั้นผู้วิจัยจึงนำเสนอการไหลของพนักงานและเปรียบเทียบนโยบายเพื่อปรับปรุงอรรถประโยชน์ของทรัพยากรด้วยแบบจำลองสถานการณ์ที่ไม่ต่อเนื่อง  ผลการวิเคราะห์แบบจำลองพบว่า การจัดตารางตรวจคนไข้ การปรับจำนวนเจ้าหน้าที่ และลำดับสถานีของการตรวจสุขภาพนอกสถานที่ สามารถลดจำนวนเจ้าหน้าที่ไปได้ 16 คน จากทั้งหมด 82 คน และเพิ่มอรรถประโยชน์ขึ้น พร้อมทั้งลดการรบกวนเวลาทำงานของพนักงานกะแรกลง-
dc.description.abstractalternativeRecently, large organizations have offered annual on-site physical check-up to facilitate employees and maintain the daily workforce. Unlike a hospital, this on-site check-up is challenging for a health provider as medical resources must be prepared for unexpected numbers in a new environment similar to a case study of an electronic factory that operates three shifts. This research aims to provide insights on patient scheduling staff numbering and work station sequencing. Based on the preliminary data, the blood sample collection has emerged as the critical process as it requires fasting and must be completed before the beginning of a shift. Other check-up procedures can be done during breaks or the following date. As a result, we proposed the operational workflow and suggested some policies to improve utilization using a discrete-time event simulation. The analysis suggests that patient scheduling staff numbering and station sequencing can reduce 16 staffs out of 82 staffs  and improve utilization with little interfering with the beginning of a shift.-
dc.language.isoth-
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.relation.urihttp://doi.org/10.58837/CHULA.THE.2019.1326-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.subject.classificationEngineering-
dc.titleการออกแบบสถานีงานของสถานีตรวจสุขภาพนอกสถานที่ -
dc.title.alternativeWork station design for mobile health check-up station-
dc.typeThesis-
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต-
dc.degree.levelปริญญาโท-
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการ-
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย-
dc.email.advisorOran.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.58837/CHULA.THE.2019.1326-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
6070273121.pdf2.75 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.