Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65224
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | อรฤทัย ภิญญาคง | - |
dc.contributor.author | ปริญญาพร วิเสสสาระกูล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-04-10T02:58:21Z | - |
dc.date.available | 2020-04-10T02:58:21Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65224 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | การปนเปื้อนน้ำมันดิบในทะเลเป็นปัญหาสำคัญที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของมนุษย์ สัตว์ และสิ่งแวดล้อม นอกจากนี้ ยังส่งผลกระทบต่อภาคเศรษฐกิจอีกด้วย งานวิจัยนี้ จึงมุ่งเน้นการกำจัดน้ำมันดิบด้วยวิธีทางชีวภาพ โดยใช้แบคทีเรียเลียงร่วมระหว่าง Sphingobium sp. MO2-4 และ Bacillus megaterium TL01-2 ที่แยกได้จากฟองน้ำบริเวณอ่าวไทย วัตถุประสงค์ของงานคือ ศึกษาประสิทธิภาพการกำจัดน้ำมันดิบของ Sphingobium sp. MO2-4 และ B. megaterium TL01-2 ที่ตรึงบน aquaporous gel ภายใต้สภาวะที่แตกต่างกัน ซึ่งงานวิจัยนี้ ให้ความสนใจต่อสภาวะการเติมสารอาหารให้แก่แบคทีเรีย และสภาวะที่มีการใช้สารกระจายคราบน้ำมัน เนื่องจากสารอาหารเป็นสิ่งที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย ดังนั้นการเติมสารอาหารมีแนวโน้มที่จะเพิ่มปริมาณแบคทีเรีย และสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการกำจัดน้ำมันดิบได้ ส่วนสารกระจายคราบน้ำมันนั้นมีส่วนช่วยในการแตกตัวน้ำมันให้มีขนาดเล็กลง ซึ่งช่วยให้แบคทีเรียมีการเข้าถึงน้ำมันดิบได้มากขึ้น มีแนวโน้มในการกำจัดน้ำมันดิบที่ดีขึ้น ดังนั้นงานวิจัยนี้ จึงสนใจที่จะศึกษาถึงปัจจัยเสริมทั้งสองนี้ ที่มีผลต่อ Sphingobium sp. MO2-4 และ Bacillus megaterium TL01-2 ที่ตรึงบน aquaporous gel ในการกำจัดน้ำมันดิบ และแนวโน้มที่จะนำไปประยุกต์ใช้ในการบำบัดสิ่งแวดล้อมที่มีการปนเปื้อนน้ำมันดิบ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Crude oil contamination in marine is a problem that can affect human health, animals, environment and economic damage. This research focuses on bioremediation by co-culture between Sphingobium sp. MO2-4 and Bacillus megaterium TL01-2 isolated from sponges in the Gulf of Thailand to remove crude oil. In this study, the purpose aims to determine the efficiency of crude oil removal by Sphingobium sp. MO2-4 and Bacillus megaterium TL01-2 immobilized on aquaporous gel under various conditions (adding nutrients and dispersant). Nutrients are essential to the bacterial growth. Therefore, adding nutrients is likely to increase amount of bacteria and the efficiency of crude oil removal. The dispersant is the tool for break down the oil into small sizes so it trends to enhance the bacterial efficiency for remove crude oil. Therefore, this research is interested in thow conditions that affect Sphingobium sp. MO2-4 and Bacillus megaterium TL01-2 immobilized on the aquaporous gel for crude oil removal and tendency to in the remediation of crude oil contaminated site. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ประสิทธิภาพการกำจัดน้ำมันดิบของ Sphingobium sp. MO2-4 และ Bacillus megaterium TL01-2 ตรึงบน aquaporous gel ในสภาวะแวดล้อมต่าง ๆ | en_US |
dc.title.alternative | Crude oil removal efficiency of Sphingobium sp. MO2-4 and Bacillus megaterium TL01-2 immobilized on aquaporous gel under various environmental conditions | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Onruthai.P@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prinyaporn W_Se_2561.pdf | 1.47 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.