Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65364
Title: | Nitrogen compounds removal in closed recirculating seawater system for shrimp pond by external loop airlift bioreactor |
Other Titles: | การกำจัดสารประกอบไนโตรเจนในระบบหมุนเวียนน้ำทะเลแบบปิด สำหรับบ่อเลี้ยงกุ้งโดยถังปฏิกรณ์ชีวภาพแบบอากาศยกที่มีการไหลวนแบบภายนอก |
Authors: | Siriwan Silapakul |
Advisors: | Prasert Pavasant |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Engineering |
Advisor's Email: | Prasert.P@Chula.ac.th |
Subjects: | Sewage -- Purification -- Nitrogen removal Nitrification Denitrification shrimp ponds Shrimp culture น้ำเสีย -- การบำบัด -- การกำจัดไนโตรเจน ไนตริฟิเคชัน ดีไนตริฟิเคชัน กุ้ง -- การเลี้ยง บ่อเลี้ยงกุ้ง |
Issue Date: | 2002 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | Packed bed external loop airlift bioreactor (PBABR) was found suitable for the treatment of wastewater containing ammonia and nitrate. The 60 litre PBABR comprised aeration and non-aeration zones both of which were packed with plastic packing to enhance the surface area for the attachment of bacteria. Experiment indicated that PBABR provided a complete removal of nitrogen compounds with both nitrification and denitrification taken place simultaneously. In other words, ammonia was decomposed by nitrifying bacteria in the aeration zone and nitrate was converted to nitrogen gas by denitrifying bacteria in the non-aeration zone. The optimal conditions for maximal nitrogen removal efficiency of this system were: dissolved oxygen of 3-4 and 0-2 mg/L in the aeration and non-aeration zones, respectively, the initial carbon to nitrogen ratio of 20-40, pH 7-8, alkalinity of greater than 100 mg (CaCO3)/L. The nitrification rate was in the range of 0.06-0.87 g NH3-N/m2-d and the denitrification rate was 0.01-0.08 g N03-N/m2-d. |
Other Abstract: | ถังปฏิกรณ์ทางชีวภาพแบบอากาศยกแบบเบดนิ่งที่มีการไหลวนแบบภายนอกมีความเหมาะสมต่อการบำบัดน้ำเสียที่มีส่วนประกอบของแอมโมเนียและไนเตรท โดยถังปฏิกรณ์นี้ประกอบไปด้วยส่วนประกอบหลักสองส่วนคือ ส่วนสภาวะให้อากาศ และสภาวะไม่ให้อากาศ และทั้งสองส่วนบรรจุวัสดุตรึง แบคทีเรียชนิดพลาสติกไบโอบอล และสามารถรองรับปริมาณน้ำเสียได้ 60 ลิตร ซึ่งการทดลองพบว่าระบบถังปฏิกรณ์แบบอากาศยกนี้สามารถบำบัดสารประกอบไนโตรเจนได้สมบูรณ์ โดยให้เกิดปฏิกิริยาไนตริฟิเคชั่นและดีไนตริฟิเคชั่นพร้อมถัน โดยไม่มีการสะสมของสารประกอบไนโตรเจนในระบบ โดยที่แอมโมเนียถูกย่อยสลายด้วยแบคทีเรียประเภท nitrifying ในส่วนสภาวะให้อากาศ และไนเตรทถูกย่อยสลายด้วยแบคทีเรียประเภท denitrifying ในส่วนสภาวะไม่ให้อากาศของถังปฏิกรณ์ สภาวะที่เหมาะสม สำหรับการดำเนินการของถังปฏิกรณ์นี้คือ ค่าออกซิเจนละลายในส่วนสภาวะให้อากาศเป็น 3-4 มิลลิกรัมต่อลิตร และในส่วนสภาวะไม่ให้อากาศเป็น 0-2 มิลลิกรัมต่อลิตร อัตราส่วนคาร์บอนอินทรีย์ต่อไนโตรเจนเริ่มต้นเท่ากับ 20-40 ค่าพีเอช 7-8 สภาพด่างมากกว่า 100 มิลลิกรัมแคลเซียมคาร์บอเนต/ลิตร โดยในสภาวะนี้ อัตราการเกิดไนตริฟีเคชั่นอยู่ในช่วง 0.06-0.87 กรัมแอมโมเนีย-ไนโตรเจน/ตารางเมตร-วัน และอัตราการเกิดดีไนตริฟีเคชั่นอยู่ในช่วง 0.01-0.08 กรัมไนเตรท-ไนโตรเจน/ตารางเมตร-วัน |
Description: | Thesis (M.Eng.)--Chulalongkorn University, 2002 |
Degree Name: | Master of Engineering |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemical Engineering |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65364 |
ISSN: | 9741722311 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Siriwan_si_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 759.75 kB | Adobe PDF | View/Open |
Siriwan_si_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 647.58 kB | Adobe PDF | View/Open |
Siriwan_si_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.5 MB | Adobe PDF | View/Open |
Siriwan_si_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 873.14 kB | Adobe PDF | View/Open |
Siriwan_si_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 1.61 MB | Adobe PDF | View/Open |
Siriwan_si_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 611.89 kB | Adobe PDF | View/Open |
Siriwan_si_back_p.pdf | รายการอ้างอิง และภาคผนวก | 775.25 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.