Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65382
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorThaweesak Tirawatnapong-
dc.contributor.authorAmornrat Waitayakul-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.date.accessioned2020-04-18T23:08:13Z-
dc.date.available2020-04-18T23:08:13Z-
dc.date.issued2002-
dc.identifier.issn9741711395-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65382-
dc.descriptionThesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2002en_US
dc.description.abstractMost of the studied are focused on reaction of host to mosquito’s saliva proteins. In this study, the host immune response to mosquito cells have been studied by developing methods for analyzing host response to mosquito cell and immune response in experimental animal. The sources of antigens that elicit antibodies could be from cells in saliva during mosquito bite. The antibodies response to mosquito cells proteins can be detected in human serum as in the experimental animal. The antibodies level is higher in groups that have high exposure to mosquito bite such as guards. The antibodies can not be detected in cord blood indicated that there is no passive transfer of maternal antibodies. These antibodies can not be detected or can found with low level in serum of patient with dengue infection. The mosquito’s membrane proteins should present in the dengue virus envelope during replication cycle in mosquitoes. Thus the mosquito antibodies present in host might modified the outcome of infection and may be one of the host factors that protect human against dengue infection or implicate in pathogenesis of dengue fever. And this might be the new strategy for vaccine development against the dengue virus infection in the future.-
dc.description.abstractalternativeขณะที่ยุงกัดจะมีการปล่อยน้ำลายออกมาสู่บริเวณที่กัด โดยมีรายงานว่าพบสารหลายชมิดในน้ำลายยุง อาทิเช่น สารประเภทป้องกันไม่ให้เลือดแข็งตัว โดยสารต่าง ๆ เหล่านี้ส่วนมากช่วยให้การดูดเลือดเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ดังนั้นส่วนมากจึงมีการศึกษาเกี่ยวกับภูมิคุ้มกันต่อน้ำลายยุงที่เป็นสาร ก่อให้เกิดภูมิแพ้เท่านั้น การศึกษาในครั้งนี้มีแนวคิดที่ต่างออกมาว่า นอกจากน้ำลายแล้วขณะที่ยุงกัดจะมีเซลล์ยุงบางส่วนหลุดปะปนออกมากระตุ้นให้ระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายสร้างภูมิคุ้มกันจำเพาะขึ้นมาตอบสนองต่อเซลล์เหล่านั้นได้ ดังนั้นจึงทำการศึกษาโดยนำ C6/36 cell ซึ่งเป็น cell line ของยุงลาย Aedes albopictus ฉีดกระต่ายทดลองเพื่อกระตุ้นให้สร้างภูมิคุ้มกันจำเพาะต่อเซลล์ยุง และใช้เทคนิค Western blot analysis, indirect immunofluorescence assay และ ELISA ในการตรวจหาและศึกษา ซึ่งจากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่า เซลล์ยุงสามารถกระตุ้นให้สัตว์ทดลองสร้างภูมิคุ้มกันจำเพาะขึ้นมาได้จริง และพบภูมิคุ้มกันต่อเซลล์ยุงในน้ำเหลืองของคนปกติ โดยทำการศึกษาในกลุ่มของพนักงานรักษาความปลอดภัยซึ่งมีโอกาสที่จะถูกยุงกัดมากกว่าคนทั่วไป ดังนั้นอาจสรุปได้ว่า เมื่อคนถูกยุงกัด เซลล์ยุงที่หลุดออกมากับน้ำลายสามารถกระตุ้นให้ระบบภูมิคุ้มกันสร้างภูมิคุ้มกันจำเพาะขึ้นตอบสนองได้จริง แต่มีประเด็นที่น่าสนใจเกี่ยวข้องกับโรคไข้เลือดออกคือ เชื้อไวรัสก่อโรคไข้เลือดออกนั้น จะต้องแบ่งตัวเพิ่มจำนวนออกมาจากเซลล์ของยุงลายที่เป็นพาหะนำโรค โดยจะต้องอาศัยบางส่วนจากผนังเซลล์ของยุงมาเป็นส่วนผนังหุ้มตัวไวรัส ดังนั้นเมื่อร่างกายสามารถสร้างภูมิคุ้มกันจำเพาะต่อเซลล์ยุง ภูมิคุ้มกันชนิดนี้อาจมีผลต่อการกระตุ้นให้เกิดภาวะทนต่อการติดเชื้อหรือลดความรุนแรงหรือเปลี่ยนแปลงลักษณะการดำเนินโรคขึ้นมาได้ ดังนั้นจึงได้ทำการตรวจหาภูมิคุ้มกันที่จำเพาะต่อเซลล์ยุงในน้ำเหลืองของผู้ป่วยโรคไข้เลือดออก ศึกษาเปรียบเทียบในกลุ่มพนักงานรักษาความปลอดภัย จากผลการศึกษาพบว่ากลุ่มพนักงานรักษาความปลอดภัยมีภูมิคุ้มกันชนิดนี้มากกว่ากลุ่มผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนั้นภูมิคุ้มกันจำเพาะต่อเซลล์ยุงนี้อาจจะมีส่วนชักนำให้เกิดภาวะทนต่อการติดเชื้อโรคไข้เลือดออกหรือทำให้การดำเนินโรคของโรคไข้เลือดออกแตกต่างกันได้ตั้งแต่ไม่มีอาการจนถึงมีอาการรุนแรง ผลการศึกษาในครั้งนี้ อาจใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานค้นหาแนวทางใหม่ในการพัฒนาวัคซีนป้องกันโรคไข้เลือดออกในอนาคตได้-
dc.language.isoenen_US
dc.publisherChulalongkorn Universityen_US
dc.rightsChulalongkorn Universityen_US
dc.subjectImmunityen_US
dc.subjectImmunoglobulinsen_US
dc.subjectMosquitoesen_US
dc.subjectภูมิคุ้มกันen_US
dc.subjectยุงen_US
dc.titleDetection of antibodies specific to mosquito cells in human and animal serumen_US
dc.title.alternativeการตรวจหาภูมิคุ้มกันจำเพาะต่อเซลล์ยุงในน้ำเหลืองคนและสัตว์ทดลองen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameMaster of Scienceen_US
dc.degree.levelMaster's Degreeen_US
dc.degree.disciplineMedical Microbiology (Inter-Department)en_US
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen_US
dc.email.advisorThaweesak.T@chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Amornrat_wa_front_p.pdfCover Abstract and table of Contents833.55 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_wa_ch1_p.pdfChapter 1688.42 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_wa_ch2_p.pdfChapter 2591.68 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_wa_ch3_p.pdfChapter 3844.46 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_wa_ch4_p.pdfChapter 4763.94 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_wa_ch5_p.pdfChapter 51.16 MBAdobe PDFView/Open
Amornrat_wa_ch6_p.pdfChapter 6752.97 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_wa_ch7_p.pdfChapter 7599.37 kBAdobe PDFView/Open
Amornrat_wa_back_p.pdfReferences and Appendix980.27 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.