Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65386
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปิง คุณะวัฒน์สถิตย์-
dc.contributor.authorเทพหทัย ศรีนพคุณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-19T13:10:34Z-
dc.date.available2020-04-19T13:10:34Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741700024-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65386-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเหมาะสมของการนำกระบวนการอนุญาโตตุลาการเข้ามาช่วยในการแก้ปัญหาข้อพิพาทที่เกิดขึ้นในงานก่อสร้างที่มีภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจเป็นคู่สัญญา เพื่อทำการศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นในการใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการ และนำเสนอแนวทางในการปฏิบัติที่เหมาะสมและเป็นธรรมกับคู่พิพาท การศึกษาทำโดยการรวบรวมข้อมูลจากงานวิจัย บทความทางวิชาการ วารสารจากทั้งในและต่างประเทศ ตัวอย่างกรณีพิพาทจากสำนักงานอนุญาโตตุลาการ ทำการสัมภาษณ์อนุญาโตตุลาการและนิติกรของสถาบันอนุญาโตตุลาการ คู่พิพาทที่เกี่ยวข้อง รวมทั้งเข้าร่วมเป็นผู้สังเกตการณ์ใน กระบวนการอนุญาโตตุลาการ เพื่อทำการศึกษาการใช้กระบวนการทั้งในภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เพื่อช่วยในการค้นหาปัญหา สาเหตุ และอุปสรรคที่เกิดขึ้นจริง เพื่อใช้เป็นแนวทางในการวิเคราะห์และเสนอแนะแนวทางที่เหมาะสมในการปรับปรุงการแก้ปัญหาข้อพิพาทในงานก่อสร้างที่มีภาครัฐ/รัฐ วิสาหกิจเป็นคู่กรณีให้เกิดความเหมาะสมยิ่งขึ้น จากการศึกษาพบว่าการนำระบบอนุญาโตตุลาการเข้ามาช่วยแก้ปัญหาข้อพิพาทในงานก่อสร้างของภาครัฐ/รัฐวิสาหกิจยังมีปัญหาและอุปสรรค เนื่องจากมีปัจจัยหลายอย่างซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นปัญหาของทางภาครัฐตั้งแต่การเริ่มที่จะใช้กระบวนการ ความสามารถที่ไม่เท่าเทียมกันของคู่พิพาท การเลือก คณะอนุญาโตตุลาการ ความไม่เข้าใจหลักของกระบวนการอนุญาโตตุลาการ สืบเนื่องไปจนถึงการทำคำชี้ขาดที่คู่กรณีไม่ยอมปฏิบัติตาม ซึ่งปัญหาต่าง ๆเหล่านี้เป็นผลทำให้การใช้กระบวนการอนุญาโตตุลาการไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร ดังนั้นจึงได้เสนอแนะแนวทางการปรับปรุงแก้ไขที่อาจสามารถช่วยแก้ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้น เพื่อให้กระบวนการอนุญาโตตุลาการเกิดประสิทธิภาพและความเป็นธรรมกับคู่พิพาททุกฝ่ายมากยิ่งขึ้น-
dc.description.abstractalternativeThe objectives of this research are: to study the suitability of implementing the arbitration process to assist in solving the dispute occurred in the construction site between the government sector and public enterprise as contractors. Moreover, to analyze factors which have great impact and problems occurred due to the arbitration practice. Also to recommend the appropriate means and fair ways to the parties. The study has been done by compiling the data and information from research works, articles, local and foreign periodicals, examples of argument from the arbitration institute, interviews with arbitrators and lawyers of the arbitration institute as well as the parties. In addition , by the observation towards arbitration processes in order to study the theoretical and practical process to help find causes of problems and constraints occurred to be used as a key to analyze and suggest the suitable guideline to improve the dispute solving in construction work involving the government sector and public enterprise as the parties. It has been found through this study that there have been problems and constraints regarding the arbitration use to help settle the construction dispute between the government sector and public enterprise since most various factors are from the government side, for instance: the starting of arbitration process, the disparity between the parties, the selection of arbitrators, lack of understanding the arbitration process as well as the preparation of decision which the parties do not follow. These cited problems make the arbitration utilization inefficient enough. As a result, the aim of this study is to propose the ways and means improving and settling problems and constraints occurred thus make the arbitration process efficient and fair towards the parties as much as possible.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการอนุญาโตตุลาการen_US
dc.subjectการระงับข้อพิพาทen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมการก่อสร้างen_US
dc.subjectสัญญาก่อสร้างen_US
dc.subjectGrievance arbitrationen_US
dc.subjectDispute resolution ‪(Law)‬en_US
dc.subjectConstruction industryen_US
dc.subjectConstruction contractsen_US
dc.titleการใช้อนุญาโตตุลาการช่วยแก้ปัญหาข้อพิพาทในงานก่อสร้างของภาครัฐen_US
dc.title.alternativeUse of arbitration in solving public construction disputesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Tephatai_sr_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อและสารบัญ810.14 kBAdobe PDFView/Open
Tephatai_sr_ch1_p.pdfบทที่ 1744.95 kBAdobe PDFView/Open
Tephatai_sr_ch2_p.pdfบทที่ 21.84 MBAdobe PDFView/Open
Tephatai_sr_ch3_p.pdfบทที่ 31.7 MBAdobe PDFView/Open
Tephatai_sr_ch4_p.pdfบทที่ 41.01 MBAdobe PDFView/Open
Tephatai_sr_ch5_p.pdfบทที่ 5723.19 kBAdobe PDFView/Open
Tephatai_sr_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.47 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.