Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65389
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorจาริต ติงศภัทิย์-
dc.contributor.authorธงชัย เกษมสุขสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเศรษฐศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-04-19T13:38:02Z-
dc.date.available2020-04-19T13:38:02Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741720726-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65389-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้ทำการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการวิเคราะห์ต้นทุนผลประโยชน์ (Cost-Benefit Analysis) และต้นทุนการผลิตไฟฟ้าที่แท้จริงของโครงการเขื่อนเขาแหลม เมื่อรวมต้นทุนสิ่งแวดล้อม โดยทำการวิเคราะห์ต้นทุนโครงการ และผลประโยชน์ด้านต่าง ๆ ได้แก่ การผลิตไฟฟ้า การป้องกันน้ำท่วม การทำไม้ การเกษตรชลประทาน การป้องกันน้ำเค็มและมลภาวะทางน้ำ การทำน้ำประปา การท่องเที่ยว การประมง การลดปริมาณก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และประเมินมูลค่าผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อมต่าง ๆ ได้แก่ การสูญเสียสภาพการดำรงอยู่ของป่าไม้การสูญเสียจากการทำป่าไม้อย่างยั่งยืน และการสูญเสียธาตุอาหารของพืชจากตะกอนที่ถูกกักเก็บในเขื่อน ผลการศึกษาพบว่าเมื่อรวมต้นทุนสิ่งแวดล้อม โครงการเขื่อนเขาแหลมจะมีค่า EIRR 8.32%, NPV -3,821.28 ล้านบาท และ B/C Ratio 0.864 ที่อัตราคิดลด 10% ซึ่งแตกต่างอย่างมากจากการศึกษาความเป็นไปได้โครงการเดิมของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย (กฟผ.) ที่ได้ EIRR 18.71%, NPV 26,307.60 ล้านบาท และ B/C Ratio 1.95 การศึกษานี้ยังได้วิเคราะห์ผลตอบแทนโครงการเมื่อไม่รวมผลกระทบสิ่งแวดล้อม ได้ค่า EIRR 9.79%, NPV -520.58 ล้านบาท และ B/C Ratio 0.977 แสดงให้เห็นว่าโครงการนี้มีการประเมินผลตอบแทนการลงทุนที่สูงกว่าความเป็นจริงและเมื่อรวมต้นทุนผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านต่าง ๆ สรุปได้ว่าโครงการเขื่อนเขาแหลมนั้นไม่คุ้มค่าต่อการลงทุน และในการศึกษานี้ได้ประเมินต้นทุนการผลิตไฟฟ้าต่อหน่วยของโครงการเท่ากับ 2.548 บาท โดยเป็นต้นทุนทางตรงในการผลิต 2.1348 บาท และต้นทุนสิ่งแวดล้อมด้านการผลิตไฟฟ้า 0.4131 บาท ซึ่งสูงกว่าต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของโรงไฟฟ้าพลังความร้อนร่วมที่ใช้ก๊าซธรรมชาติ หรือการซื้อไฟฟ้าจากการไฟฟ้าลาว และยังสูงกว่าราคาค่าไฟฟ้าเฉลี่ยที่กฟผ.ขายให้กับ กฟน.และกฟภ.-
dc.description.abstractalternativeThis thesis has studied the environmental impact on Cost-Benefit analysis and actual electricity cost of Khao Laem Hydropower Dam. EGAT's project feasibility study was used as reference. The benefits and environmental impacts of this project have been reappraised i.e. electricity benefit, flood protection, irrigation benefit, carbon emission reduction, metropolitan water supply, water pollution control, forestry benefit, fishery benefit and tourism benefit and also loss of forest existence value, sustainable forestry and fertilizer sediment trapped in reservoir. The reappraisal has shown the Cost-Benefit of Khao Leam Project, which included environmental cost has EIRR 8.32%, NPV -3,821.28 MB and B/C Ratio 0.864 at discount rate 10% while EGAT's study presented EIRR 18.71%, NPV 26,307.60 MB and B/C Ratio 1.95. In addition, this study has also analysed the project benefit that disregarded environmental cost and EIRR, NPV and B/C ratio are 9.79%, -520.58 MB and 0.977 respectively. The major causes of the difference of these two studies come from the benefit overestimate in EGAT's study and the impacts of the environmental cost. Therefore Khao Leam project should be regarded as economically unfeasible. In this study has calculated the electricity production cost per unit, which is 2.548 baht, comprises of direct production cost 2.1348 baht and environmental cost 0.4131 baht. This production cost is higher than that of combined cycle plant and the buying price from Lao's electricity plant and also higher than the average EGAT’s electricity selling price to MEA and PEA.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.614-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไฟฟ้าen_US
dc.subjectต้นทุนและประสิทธิผลen_US
dc.subjectเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectโรงไฟฟ้าพลังน้ำen_US
dc.subjectเขื่อนเขาแหลม -- แง่สิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectElectricityen_US
dc.subjectCost effectivenessen_US
dc.subjectHydroelectric power plantsen_US
dc.subjectKhao Laem Hydro Power -- Environmental aspectsen_US
dc.subjectEnvironmental economicsen_US
dc.titleการศึกษาผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมที่มีต่อการวิเคราะห์ต้นทุน-ผลประโยชน์และต้นทุนการผลิตไฟฟ้าของเขื่อนเขาแหลมen_US
dc.title.alternativeStudy of Environmental Impact on Cost-Benefit Analysis and Electricity Cost of Khao Laem Hydro Poweren_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineเศรษฐศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorCharit.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.614-
Appears in Collections:Econ - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thongchai_ka_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อและสารบัญ808.45 kBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ka_ch1_p.pdfบทที่ 1937.53 kBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ka_ch2_p.pdfบทที่ 2857.25 kBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ka_ch3_p.pdfบทที่ 3881.74 kBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ka_ch4_p.pdfบทที่ 42.22 MBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ka_ch5_p.pdfบทที่ 5925.28 kBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ka_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.