Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6539
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ทวีวงศ์ ศรีบุรี | - |
dc.contributor.advisor | ศุภิชัย ตั้งใจตรง | - |
dc.contributor.author | นฤชัย คูณทอง | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย | - |
dc.date.accessioned | 2008-04-08T06:27:57Z | - |
dc.date.available | 2008-04-08T06:27:57Z | - |
dc.date.issued | 2548 | - |
dc.identifier.isbn | 9745325716 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6539 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548 | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้ได้ใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ QUAL2K ในการศึกษาคุณภาพน้ำในแม่น้ำปราจีนบุรี ตั้งแต่อำเภอกบินทร์บุรีไหลผ่านอำเภอศรีมหาโพธิ, อำเภอประจันตคาม, อำเภอเมือง, จนถึงอำเภอบ้านสร้าง ระยะทางประมาณ 85 กิโลเมตร ใน 2 ช่วงฤดูกาล คือ ช่วงฤดูฝนและฤดูแล้ง โดยพารามิเตอร์ที่ศึกษาได้แก่ ออกซิเจนละลายน้ำ ค่าความต้องการออกซิเจนของสารอินทรีย์ อุณหภูมิ ความเป็นกรดด่างแอมโมเนีย ไนโตรเจน ไนเตรตไนโตรเจน และ ฟอสฟอรัสรวม โดยผลการปรับเทียบระดับน้ำและปริมาณน้ำใน แม่น้ำปราจีนบุรีพบว่าแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ QUAL2K สามารถจำลองลักษณะการไหลของน้ำได้ ใกล้เคียงกับค่าที่ได้จากสถานีวัดน้ำของกรมชลประทาน ผลการปรับเทียบค่าคุณภาพน้าพบว่า ค่าคุณภาพ น้ำที่ได้จากแบบจำลองทางคณิตศาสตร์ QUAL2K กับข้อมูลคุณภาพน้ำของกรมควยคุมมลพิษระหว่างปี พ.ศ. 2536 ถึง พ.ศ. 2545 มีความสอดคล้องกัน โดยแบบจำลองสามารถทำนายค่าพารามิเตอร์คุณภาพน้ำ ในช่วงฤดูฝนได้แตกต่างจากค่าที่ได้จากสถานีวัดคุณภาพน้ำของกรมควบคุมมลพิษ 7.97, 10.94, 0.39, 2.18, 14.10, 20.20, 23.35 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ ส่วนในช่วงฤดูแล้งมีความแตกต่าง 17.41, 21.78, 1.43, 1.10, 29.33, 27.39, 93.70 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ และจากการตรวจสอบความถูกต้องของแบบจำลอง โดยเปรียบเทียบ ลักษณะการไหลของน้ำและคุณภาพน้ำเฉลี่ยจากการออกภาคสนามในวันที่ 25 ธันวาคม 2547 และในวันที่ 6 มีนาคม 2548 เปรียบเทียบกับลักษณะการไหลของน้ำ และคุณภาพน้ำที่ได้จากแบบจำลองในวันดังกล่าว พบว่ามีความสอดคล้องกัน โดยแบบจำลองสามารถทำนายค่าพารามิเตอร์คุณภาพน้ำได้ แตกต่างจากค่าที่ ได้จากการออกภาคสนาม 8.05, 31.98, 5.22, 3.00, 59.45, 18.50, 26.83 เปอร์เซ็นต์ ตามลำดับ สำหรับการ คาดการณ์คุณภาพน้ำในอนาคต พบว่าคุณภาพน้ำของแม่น้ำปราจีนบุรีบริเวณเขต อำภอศรีมหาโพธิ ในช่วงฤดูแล้งจะมีคุณภาพต่ำลงและไม่เหมาะสมต่อการอุปโภคเนื่องจากมีค่า BOD ค่าสูงกว่า 4mg/l ซึ่งสูงกว่าค่ามาตรฐานแหล่งน้ำผิวดินประเภทที่ 4 โดยในอีก 10 ปีข้างหน้าในบริเวณดังกล่าวอาจจะมีค่า BOD สูงถึง 4.54 mg/l | en |
dc.description.abstractalternative | QUAL2K was used to study water quality of the Prachinburi River. The study area covered Prachinburi River for the length of 85 kilometers and flows through the Kabinburi, Srimahaphot, Muang and Bansrang districts. Seven water quality parameters were simulated during the rainy season (July - November) and dry season (December- June). The simulated parameters consist of Dissolved Oxygen (DO), Biochemical Oxygen Demand (BOD), Temperature, pH, Ammonia Nitrogen (Nh(subscript3)-N), Nitrate Nitrogen (NO(subscript3)- N), and Total Phophorus (TP). Water level and discharges obtained from QUAL2K simulation correlated well with those from measurements by the Royal Irrigation Department are well related. The water quality parameters from QUAL2K were compared with those observed by the Pollution Control Department during 1993 and 2002. The comparisons for the rain season period show that the differences between simulated and observed values are 7.97, 10.94, 0.39, 2.18, 14.10, 20.20, 23.35% for DO, BOD, Temperature, pH,NH(subscript3)-N, NO(subscript3)-N and TP respectively. For dry season, the differences are 17.41, 21.78, 1.43, 1.10, 29.33, 27.39, 93.70 % for DO, BOD, Temperature, pH, NH(subscript3)-N, NO(subscript3)- N and TP respectively. In addition, the hydraulics and water quality between QUAL2K results and field survey data (taken on December 25, 2004 and Mar 6, 2005) were compared. It was found that all simulated hydraulics and water quality parameters how good agreement. Differences between the model and the observed parameters are 8.05, 31.98, 5.22, 3.00, 59.45, and 26.83 % for DO, BOD, Temperature, ph, NH(subscript3)- N, NO(subscript3)-N and TP respectively. The calibrated model was then used to forecast Prachinburi River water quality in the future. The forecasting indicated that only BOD in the Srimahaphot District segments may increase above the 4 mg/l (standard level of surface water quality standards class 4) to 4.54 mg/l in the next 10 years. | en |
dc.format.extent | 3186429 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | มลพิษทางน้ำ | en |
dc.subject | แม่น้ำท่าจีน | en |
dc.subject | คุณภาพน้ำ -- แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | en |
dc.title | การประเมินมลพิษในแม่น้ำปราจีนโดยใช้แบบจำลองทางคณิตศาสตร์ | en |
dc.title.alternative | Pollution evalution in Prachinburi river by using mathematical model | en |
dc.type | Thesis | es |
dc.degree.name | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต | es |
dc.degree.level | ปริญญาโท | es |
dc.degree.discipline | วิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา) | es |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
dc.email.advisor | supichai@sc.chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
naruechai.pdf | 3.11 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.