Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65474
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เจษฏ์ เกษตระทัต | - |
dc.contributor.author | ศดานันท์ แก้วปราณี | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-04-23T07:41:16Z | - |
dc.date.available | 2020-04-23T07:41:16Z | - |
dc.date.issued | 2561 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65474 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล. คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2561 | en_US |
dc.description.abstract | แสง จัดเป็นปัจจัยที่มีความสำคัญต่อการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการกินอาหารและการหลบหลีกศัตรูของปลาวัยอ่อนและปลาระยะวัยรุ่น เพื่อให้สามารถดำรงชีวิตอยู่ในระบบนิเวศทางทะเลที่มีความซับซ้อนสูง งานวิจัยครั้งนี้สนใจศึกษาผลกระทบของความยาวคลื่นแสงต่อพฤติกรรมและโครงสร้างเซลล์รับภาพของปลากะพงขาว โดยคัดเลือกความยาวคลื่นแสงที่เหมาะสมในการเพาะเลี้ยงปลากะพงขาว ซึ่งพิจารณาจากพฤติกรรมและการมองเห็น ได้แก่ พฤติกรรมการกินอาหาร (Feeding), พฤติกรรมการอยู่รวมกันเป็นฝูง (schooling) และ พฤติกรรมการว่ายน้ำ (swimming) และวัดขนาดของโครงสร้างเซลล์รับภาพ การศึกษานี้ทำการเลี้ยงปลากะพงขาว จำนวน 150 ตัว 15 ตู้ ตู้ละ 10 ตัว แบ่งเป็นกลุ่มควบคุม และ 4 กลุ่มการทดลองที่ได้รับความยาวคลื่นแสงต่างกัน ได้แก่ แสงไฟฟลูออเรสเซนต์สีแดง (710 นาโนเมตร) แสงไฟฟลูออเรสเซนต์สีน้ำเงิน (435 นาโนเมตร) แสงไฟฟลูออเรสเซนต์สีเขียว (510 นาโนเมตร) และทึบแสง เป็นระยะเวลา 4 สัปดาห์ พบว่า แสงไฟฟลูออเรสเซนต์สีแดง (710 นาโนเมตร) ส่งผลให้ค่าความยาวเหยียดเฉลี่ยและน้ำหนักมากที่สุด เวลาที่ปลากะพงขาวเห็นเหยื่อและกินเหยื่อจนหมด แสงไฟฟลูออเรสเซนต์สีแดงยังส่งผลทำให้ขนาดเซลล์รับภาพ และชั้นเซลล์รับแสง ขนาดกว้างกว่าชุดควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (P<0.05) แสงไฟฟลูออเรสเซนต์สีแดงส่งผลให้มีการแสดงออกของพฤติกรรมได้ดีที่สุดและส่งผลต่อขนาดชั้นเซลล์รับภาพซึ่งผลของพฤติกรรมที่ได้มีความสอดคล้องกับขนาดชั้นเซลล์รับภาพ | en_US |
dc.description.abstractalternative | Fish biology and behavior are influenced by light. Extended exposed to the certain wavelength under which teleost larvae and juvenile are reared affects growth and survival in complex ecosystem. The nature and extent of the effect of this exposure varies among species. Our study aims to determine the effect of exposing to four different wavelength light [red (710nm), blue (453 nm) and green (510nm)] on growth, behavioral response, visibility and the structure of the retinal layer in the juvenile seabass. We observed three behavioral categories (feeding, schooling and swimming) and measure the structure of the retinal layer. The juvenile sea bass were raised for 4 weeks for the experiment. The juvenile seabass reared under the fluorescent red light wavelength (710nm) had scored best in the behavioral observation, least time to eat artemia and had the thickest retina layers when compared to the other three wavelength. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | ผลกระทบจากความยาวคลื่นแสงที่แตกต่างกันต่อพฤติกรรมการตอบสนองและศึกษาโครงสร้างชั้นเซลล์รับภาพของปลากะพงขาว Lates calcarifer (Bloch, 1790) ระยะวัยรุ่น | en_US |
dc.title.alternative | Effects of the different light wavelengths on behavioral response and the structure of the retinal layer in the juvenile seabass Lates calcarifer (Bloch, 1790) | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Jes.K@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Sadanun Ka_Se_2561.pdf | 2.57 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.