Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6547
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorศิริชัย กาญจนวาสี-
dc.contributor.authorวีรนุช ทองแดง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-04-08T08:05:20Z-
dc.date.available2008-04-08T08:05:20Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741738455-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6547-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 3 ประการ คือ 1) เพื่อศึกษาสภาพการใช้ผลของการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนในสถานศึกษา 2) เพื่อศึกษาปัญหาของการใช้ผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนในสถานศึกษา และ 3) เพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนในสถานศึกษาระดับมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษาในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ คือ แบบสอบถาม กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยครูโรงเรียนในกรุงเทพมหานครจำนวน 538 คน วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยายและการวิเคราะห์การถดถอยโลจิสติกแบบพหุวิภาคเพื่อศึกษาปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนในสถานศึกษา ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1) กลุ่มตัวอย่างครูใช้ผลการวิจัยเชิงความคิดเพียงบางส่วน การใช้ผลการวิจัยอย่างครบถ้วน ไม่ใช้ผลการวิจัยเชิงความคิดเลย คิดเป็นร้อยละ 44.42 ,44.24 และ11.34 ตามลำดับ กลุ่มตัวอย่างครูใช้ผลการวิจัยเชิงตรวจสอบยืนยันอย่างครบถ้วน การใช้ผลการวิจัยเพียงบางส่วน และไม่ใช้ผลการวิจัยเชิงตรวจสอบยืนยันเลย คิดเป็นร้อยละ 57.99, 22.49 และ 19.52 กลุ่มตัวอย่างครูใช้ผลการวิจัยเชิงสัญลักษณ์อย่างครบถ้วน การใช้ผลการวิจัยเพียงบางส่วนและไม่ใช้ผลการวิจัยเชิงสัญลักษณ์เลย คิดเป็นร้อยละ 51.11, 32.53 และ16.36 ตามลำดับ และกลุ่มตัวอย่างครูใช้ผลการวิจัยการใช้ผลการวิจัยเชิงปฏิบัติอย่างครบถ้วน การใช้ผลการวิจัยเพียงบางส่วน และไม่ใช้ผลการวิจัยเชิงปฏิบัติเลย ร้อยละ 48.00, 38.80 และ 13.20 ตามลำดับ 2) ปัญหาการใช้ผลการวิจัยโดยภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และด้านที่มีปัญหามากที่สุด คือ ปัญหาด้านความเป็นไปได้ในการใช้ผลการวิจัย รองลงมา คือ ปัญหาด้านคุณภาพของงานวิจัย และปัญหาด้านระบบและการบริหารภายในสถานศึกษา ตามลำดับ 3) ปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนในสถานศึกษา ทั้ง 4 รูปแบบมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 ได้แก่ ตัวแปรประสบการณ์การทำวิจัย และตัวแปรคุณภาพของงานวิจัย นอกจากนี้ตัวแปรความร่วมมือของผู้ร่วมงาน มีอิทธิพลต่อการใช้ผลการวิจัยเชิงความคิดเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น และตัวแปรประสบการณ์อบรมเกี่ยวกับการวิจัย มีอิทธิพลต่อการใช้ผลการวิจัยเชิงปฏิบัติอย่างครบถ้วน โมเดลถดถอยโลจิสติกพหุวิภาคการใช้ผลการวิจัยเชิงตรวจสอบยืนยัน การใช้ผลการวิจัยเชิงสัญลักษณ์ การใช้ผลการวิจัยเชิงความคิด และการใช้ผลการวิจัยเชิงปฏิบัติ สามารถจำแนกกลุ่มผู้ใช้ผลการวิจัยได้อย่างถูกต้องร้อยละ 63.56, 58.55, 58.36 และ 57.25 ตามลำดับen
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were 1) to study the state of research utilization to develop learning for learners in schools 2) to study the problems of research utilization to develop learning for learners in schools and 3) to study the factors affecting research utilization to develop learning for learners in secondary schools under the Department of General Education in Bangkok Metropolitan Area The data were collected though questionnaires. The research samples were consisted of 538 school teachers in Bangkok Metropolitan Area. The data were analyzed via descriptive statistics and polytomous logistic regression. The major findings were as follows: 1) The teachers who conceptually utilized research partally, cmpletely and did not utilize research were 44.42%, 44.24% and 11.34% respectively. The teachers who legitimate utilized research completely, partally and did not utilize research were 57.99%, 22.49% and 19.52% respectively. The teachers who symbolically utilized research completely, partally and did not utilize research were 51.11%, 32.53% and 16.36% respectively. The teachers who instrumental utilized research completely, partally and did not utilize research were 48.00%, 38.80% and 13.20% respectively. 2) The overall problems in research utilization were at morderate level and the major problems were the possibility of research utilization, research quality and administration system in school. 3) Factors that had significant affect on research utilization to develop learning for learners in schools at .01 level, were experience in research conduction and research quality. Futhermore colleagus, cooperative had influence on conceptual use and research training experience had influence on instrumental use. Legitimate utilization model, symbolic utilization model, conceptual utilization model and instrumental utilization model could predict research utilization for 63.56%, 58.55%, 58.36% and 57.25% respectivelyen
dc.format.extent3687628 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.1323-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนรู้en
dc.subjectวิจัยen
dc.subjectการพัฒนาการศึกษาen
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อการใช้ผลการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียนในสถานศึกษาen
dc.title.alternativeFactors affecting research result utilization to develop learning for learners in schoolsen
dc.typeThesises
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorskanjanawasee@hotmail.com, Sirchai.k@chula.ac.th-
dc.discipline.code1101es
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.1323-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Weeranuch.pdf3.6 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.