Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65554
Title: Influences of surfactants on copper carbamate stain formation
Other Titles: อิทธิพลของสารลดแรงตึงผิวต่อการเกิดสีของคอปเปอร์คาร์บาเมต
Authors: Nimonrat Surinrat
Advisors: Pienpak Tasakorn
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Pienpak.T@Chula.ac.th
Subjects: Latex
Surface active agents
Copper carbamate
Micelles
น้ำยาง
สารลดแรงตึงผิว
คอปเปอร์คาร์บาเมท
Issue Date: 2002
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Latex clipping industrial process uses zinc dibutyldithiocarbamate (ZDBC) as an accelerator for increasing cure rate of natural rubber. During leaching step, ZDBC can react rapidly with copper ion and causes dark-brown stain on the product. In order to reduce the stain due to copper carbamate formation, several surfactants were introduced; sodium dodecyl benzene sulfonate, benzethonium chloride, coco aminopropylbetaines and nonyl phenoly ethoxylate. The effect of surfactant concentration, pH and temperature of aqueous solution on the effectiveness of binding were studied. The result showed that when the surfactant concentration was greater than critical micelle concentration(CMC), there was insignificant effect on the copper binding in aqueous phase as the concentration increased regardless of the type of surfactant. In contrast, the pH effect was more pronounced in the case of benzethonium chloride and sodium dodecyl benzene sulfonate. It was found that the suitable pH of aqueous solution that benzethonium chloride can prevent copper carbamate stain reaction was less than 6 and more than 6 in the case of sodium dodecyl benzene sulfonate. Nonyl phenoly ethoxylate and coco aminopropylbetaines can prevent copper carbamate stain for all pH. The suitable temperature that can prevent copper carbamate stain is 20℃.
Other Abstract: ในอุตสาหกรรมการผลิตถุงมือยางมีการใช้ซิงต์ไดบิวทิลไดไทโอคาร์บาเมตเป็นสารเร่งปฏิกิริยาการคงรูปของยาง เพื่อช่วยเพิ่มอัตราเร็วของการคงรูปของน้ำยางธรรมชาติ สารพวกไดไทโอคาร์บาเมตจะมีความว่องไวในการทำปฏิกิริยากับคอปเปอร์ไอออนมากจึงทำให้เกิดแถบสีน้ำตาลเข้มหรือดำคล้ำบนผลิตภัณฑ์ระหว่างขั้นตอนการล้าง เพื่อลดการเกิดแถบเปื้อนเนื่องจากคาร์ บาเมต การทดลองนี้ได้ศึกษาการเติมสารลดแรงตึงผิวหลายชนิดได้แก่ โซเดียมโดเดซิลเบนซีนซัล โฟเนต, เบนซาลโคเนียมคลอไรด์, โคโคอะมิโนโพรพิวเบทาอีน และ โนนิลฟีนอล์เอทออกซิเลต ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาผลของความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิว ความเป็นกรด-เบสและอุณหภูมิของสารละลาย ต่อการตรึงคอปเปอร์ไอออนของสารลดแรงตึงผิว จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าเมื่อใช้สารลดแรงตึงผิวปริมาณที่มากกว่า CMC (Critical micelle concentration) การเพิ่มความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวจะมีผลน้อยมากต่อการตรึงคอปเปอร์ไอออนที่อยู่ในวัฏภาคของน้ำ ในทางตรงข้ามความเป็นกรด-เบส จะมีผลมากกว่าในกรณีของเบนซาลโคเนียมคลอไรด์และโซเดียม โดเดซิลเบนซีนซัลโฟเนต โดยพบว่าเมื่อความเป็นกรด-เบสของสารละลายน้อยกว่า 6 เบนซาลโคเนียมคลอไรด์จะสามารถป้องกันการเกิดคอปเปอร์คาร์บาเมตสเตนได้ดีแต่ในกรณีของโซเดียมโดเดซิลเบนซีนซัลโฟเนตพบว่าเมื่อความเป็นกรด-เบสของสารละลายมากกว่า 6 จะสามารถป้องกันการเกิดคอปเปอร์คาร์บาเมตสเตนได้ดี ส่วนในกรณีของโนนิลฟีนอล์เอทออกซิเลต และโคโคอะมิโนโพรพิวเบทาอีน พบว่าสามารถป้องกันการเกิดคอปเปอร์คาร์บาเมตสเตนได้ดี ในทุกช่วงความเป็นกรด-เบส และพบว่าอุณหภูมิที่เหมาะสมในการป้องกันการเกิดคอปเปอร์คาร์บาเมตสเตนได้ดีคือ 20 องศาเซลเซียส
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2002
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemistry and Polymer Science
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65554
ISSN: 9741708815
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nimonrat_su_front_p.pdfCover Abstract and Contents809.84 kBAdobe PDFView/Open
Nimonrat_su_ch1_p.pdfChapter 1665.29 kBAdobe PDFView/Open
Nimonrat_su_ch2_p.pdfChapter 2923.37 kBAdobe PDFView/Open
Nimonrat_su_ch3_p.pdfChapter 3672.45 kBAdobe PDFView/Open
Nimonrat_su_ch4_p.pdfChapter 41.22 MBAdobe PDFView/Open
Nimonrat_su_ch5_p.pdfChapter 5611.9 kBAdobe PDFView/Open
Nimonrat_su_back_p.pdfReferences and Appendix649.04 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.