Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6556
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชาญวิทย์ โฆษิตานนท์-
dc.contributor.authorสิริกุล วัฒนานนท์กิจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2008-04-08T10:55:48Z-
dc.date.available2008-04-08T10:55:48Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741750455-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6556-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractจากการใช้อาหารเลี้ยงเชื้อแข็ง 2 ชั้น Czapek Dox agar และ malt extract agar ซึ่งมีสี remazol brilliant blue R (RBBR) เป็นอินดิเคเตอร์ ในการแยกเชื้อจากตัวอย่างดินจำนวน 5 ตัวอย่างได้คัดเลือกรา 13 สายพันธุ์มาทดสอบเบื้องต้นในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว Mineral salt medium (MM) ได้รา 5 สายพันธุ์ ได้แก่ A3 C8 C10 L1 และ L10 โดยวันที่ 7 รา A3 C8 และ L10 สามารถย่อยสี RBBR ในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว MM ได้ 40.25% 62.99% และ 96.20% ตามลำดับเมื่อเทียบกับสีตั้งต้น ส่วนรา C10 และ L1 สามารถย่อยสี RBBR ในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลว Low-nitrogen basal III medium (LN) ในวันที่ 7 ได้ 96.87% และ 92.84% ตามลำดับเมื่อเทียบกับสีตั้งต้น เมื่อนำราทั้ง 5 สายพันธุ์มาทดสอบในอาหารเดิมโดยใช้ไดเบนโซฟูแรนแทนสี พบว่าในวันที่ 7 มีรา A3 C8 และ C10 เท่านั้นที่สามารถย่อยสลายไดเบนโซฟูแรนได้ 44.30% 66.41% และ 56.07% ตามลำดับเมื่อเทียบกับชุดควบคุม โดยในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวของรา A3 และ C10 พบสารมัธยันตร์ที่มีสีเหลืองเกิดขึ้นในระหว่างการเลี้ยงเชื้อ แต่ไม่พบการสะสมของสารมัธยันตร์ในอาหารเลี้ยงเชื้อเหลวของรา C8 จากการศึกษาลักษณะทางสัณฐานวิทยาและเปรียบเทียบลำดับนิวคลีโอไทด์ของยีน ที่ประมวลรหัสของตำแหน่ง ITS (Internal transcribed spacer) ของรา C8 พบว่ามีความคล้ายคลึงกับ Trametes sp. C30 95%en
dc.description.abstractalternativeUsing double layers agar with remazol brilliant blue R (RBBR) containing czapek dox agar and malt extract agar, 13 fungal isolates were obtained from 5 soil samples. These isolates were primarily tested by using mineral salt medium (MM) A3, C8, C10, L1 and L10 showed efficiency in RBBR degradation. After incubation of A3, C8 and L10 for 7 days in MM RBBR was degraded 40.25%, 62.99% and 96.20% of the initial concentration respectively. For C10 and L1 in low-nitrogen basal III medium (LN) RBBR was degraded 96.87% and 92.84% of the initial RBBR in 7 days. Each strains were tested further for their ability in degrading dibenzofuran using the appropriate method. The result showed that only A3, C8 and C10 could degrade dibenzofuran at 44.30%, 66.41% and 56.07% of the control respectively in 7 days. During incubation culture medium of A3 and C10, yellow color intermediate appeared. In case of C8, no intermediate was detected. From morphology and ITS sequence comparison, the C8 95% was similar to trametes sp. C30.en
dc.format.extent1124497 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectไดออกซินen
dc.subjectการย่อยสลายทางชีวภาพen
dc.subjectไดเบนโซฟูแรนen
dc.subjectเชื้อราen
dc.titleการทดสอบคัดราเพื่อใช้ในการย่อยสลายไดเบนโซฟูแรนen
dc.title.alternativeFungal screening for dibenzofuran degradationen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์สิ่งแวดล้อม (สหสาขาวิชา)es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorCharnwit@sc.chula.ac.th-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Sirikun.pdf1.1 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.