Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65820
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอุมา สุคนธมาน-
dc.contributor.authorธิดา สุบรรนาจ-
dc.date.accessioned2020-05-17T05:59:38Z-
dc.date.available2020-05-17T05:59:38Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9740310222-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65820-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - 6 เพื่อส่งเสริมความตระหนักกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒน ธรรม ท้องถิ่นของอำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ตามแนวคิดการท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม การดำเนินการวิจัยมี 4 ขั้นตอน ได้แก่ 1) การศึกษาข้อมูลพื้นฐาน 2) การสร้างโปรแกรมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 - 6 เพื่อส่งเสริมความตระหนักในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ของอำเภอ ท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ตามแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 3) การทดลองใช้โป รแกรม และ 4) การปรับปรุงโปรแกรม ตัวอย่างประชากรคือ นักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 -6 ปีการศึกษ า 2544 ของโรงเรียนบ้านกระโพ สังกัดสำนักงาน การประถมศึกษาอำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์จำนวน 18 คน ข้อมูลที่ได้จากการดำเนิน การวิจัยในขั้นตอนที่ 3 นำมาวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการทดสอบค่าที ( t - test ) ผลการวิจัยพบว่า 1. ค่าเฉลี่ยของคะแนนความตระหนักในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่น ของนักเรียนหลังการเข้าร่วมโปรแกรม สูงกว่าก่อนการเข้าร่วมโปรแกรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. นักเรียน ที่เข้าร่วมโปรแกรมทุกคน มีพฤติกรรมการเป็นนักท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมอยู่ในระดับดีมาก 3. นักเรียนที่เข้าร่วมโปรแกรมทุกคน มีความคิดเห็น เกี่ยวกับการจัดโปรแกรมโดยภาพรวม ทั้งในด้านความเหมาะสม ด้านความพอใจ และด้านประโยชน์ที่ได้รับอยู่ในระดับมาก ยกเว้น ความเหมาะสมของระยะเวลาของกิจกรรมก่อน และหลังการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมที่อยู่ในระดับปานกลาง โปรแกรมที่ปรับปรุงแล้วประกอบด้วย เป้าหมายของโปรแกรม ลักษณะของโปรแกรม เกณฑ์การคัดเลือกนักเรียนเข้าร่วมโปรแกรม เนื้อหาในโปรแกรม ขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมในโปรแกรมเอกสารและสื่อของโปรแกรม และการประเมินผลโปรแกรม โดยมีขั้นตอนการดำเนินกิจกรรมในโปรแกรม ได้แก่ 1) ขั้นกระตุ้นและให้ประสบการณ์ก่อนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 2) ขั้นตอนเตรียมการก่อนการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 3) ขั้นให้ความรู้และวิธีปฏิบัติในการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4) ขั้นศึกษาและท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม แบ่งออกเป็น 4 ด้าน ได้แก่ ด้านโบราณสถาน ด้านโบราณวัตถุ ด้านประเพณีท้องถิ่น และด้านวิถีชีวิตในชุมชน และ 5) ขั้นสรุป และรายงานผล-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to develop the program for Prathom Suksa tive and six students for enhancing awareness of the conservation of local art and culture in Amphoe Tha Turn, Changwat Surin based on cultural tourism. Four stages of the program in this study were : 1) to study baseline data, 2) to develop the program for Prathom Suksa Five and Six students for enhancing awareness of the conservation of local art and culture in Amphoe Tha Turn, Changwat Surin based on cultural tourism, 3) to try out the program, and 4) to improve the program. The subjects were 18 students of Prathom Suksa five and six in the academic year 2001 from Ban Krapho school, under the jurisdiction of the Office of Tha Turn District Primary Education, Changwat Surin. Data obtained from the third stage of the study were statistically analyzed by using percentage, arithmetic mean, standard deviation and t - test. The results were as follows : 1. The post - test arithmetic mean score of students’ awareness of the conservation of local art and culture was higher than the pre - test at the .05 level of significance. 2. All students who joined the program had very good behavior performance in being cultural tourists. 3. All students who joined the program had opinions concerning the program in the aspects of suitability, satisfaction, and advantage at the high level ; except the suitability in using time before and after carrying out the activity in cultural tourism , all students had at the medium level. The improved program was composed of goals of the program, program features, criteria to select students to join the program, content of the program, procedure of activities in the program, document and materials of the program, and program evaluation. The procedure of activities in this program were : 1 ) activating and giving experience before conducting cultural tourism, 2 ) preparation before conducting cultural tourism, 3) giving knowledge and carrying out method in conducting cultural tourism, 4) studying and implementing procedure of cultural tourism in the aspect of ancient monument, antiques, local tradition, and life style, and 5) conclusion and reporting.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.592-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการศึกษาขั้นประถม--กิจกรรมการเรียนการสอน--ไทยen_US
dc.subjectการอนุรักษ์วัฒนธรรมไทยen_US
dc.subjectActivity programs in education--Thailanden_US
dc.subjectEducation, Elementary--Activity programs--Thailand en_US
dc.titleการพัฒนาโปรแกรมสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 เพื่อส่งเสริมความตระหนักในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมท้องถิ่นของอำเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ ตามแนวคิดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมen_US
dc.title.alternativeDevelopment of a program for prathom suksa five and six students for enhancing awareness of the conservation of local art and culture in Amphoe Tha Tum, Changwat Surin based on cultural tourismen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineประถมศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.592-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thida_su_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ861.87 kBAdobe PDFView/Open
Thida_su_ch1_p.pdfบทที่ 11.04 MBAdobe PDFView/Open
Thida_su_ch2_p.pdfบทที่ 21.84 MBAdobe PDFView/Open
Thida_su_ch3_p.pdfบทที่ 31.25 MBAdobe PDFView/Open
Thida_su_ch4_p.pdfบทที่ 4902.67 kBAdobe PDFView/Open
Thida_su_ch5_p.pdfบทที่ 51 MBAdobe PDFView/Open
Thida_su_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก2.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.