Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65889
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร-
dc.contributor.authorอรพรรณ นคราวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-19T07:56:58Z-
dc.date.available2020-05-19T07:56:58Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741738218-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65889-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en_US
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาลก่อนและหลังการใช้เบ็นช์มาร์คกิ้งในการพัฒนาการทำงานในทีมการพยาบาล กับคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาลที่มีการทำงานเป็นทีมการพยาบาลตามปกติและทีมการพยาบาลที่มีการทำงานเป็นทีมที่ดีที่สุด และเปรียบเทียบคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาลก่อนและหลังการใช้เบ็นช์มาร์คกิ้งในการพัฒนาการทำงานในทีมการพยาบาล กลุ่มตัวอย่างคือ บุคลากรทางการพยาบาลจำนวน 3 กลุ่ม กลุ่มตัวอย่างของแต่ละกลุ่มมีจำนวน 12, 15 และ 15 คนตามลำดับ แบบสอบถามคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาลผู้วิจัยได้สร้างขึ้นซึ่งได้ผ่านการตรวจสอบจากผู้เชี่ยวชาญและทดสอบความเที่ยงด้วยวิธีของครอนบาค ได้ค่าสัมประสิทธิ์เท่ากับ .89 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการใช้สถิติวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One-way ANOVA) และสถิติทดสอบที (Dependent t-test) ผลการวิจัยสรุปได้ว่า 1. ก่อนการทดลอง คะแนนเฉลี่ยคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาลของกลุ่มที่มีการทำงานเป็นทีมที่ดีที่สุดสูงกว่ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 ส่วนคะแนนเฉลี่ยคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาลระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมพบว่าไม่แตกต่าง 2. ภายหลังการทดลอง คะแนนเฉลี่ยคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาลระหว่างกลุ่มที่มีการทำงานเป็นทีมที่ดีที่สุดและกลุ่มทดลอง พบว่าไม่แตกต่าง ส่วนคะแนนเฉลี่ยคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาลในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 3. คะแนนเฉลี่ยคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาลของกลุ่มทดลองภายหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experiment research were to compare the service quality of nursing team among the experimental group which using benchmarking for team development in nursing team, the control group which working on conventional nursing team method and the benchmark group which working on best practice of nursing team, and to compare the service quality of nursing team before and after using benchmarking for team development in nursing team. The research sample of the three groups were nursing personnel. The number of nursing personnel in each group was composed of 12, 15 and 15 respectively. The service quality of nursing team questionnaire was developed by the researcher and judged by the panel of experts. The Cronbach alpha coefficient of reliability was .89. Statistical techniques that had been used for data analysis were One-way ANOVA and dependent t-test statistics. Major findings were as follows: 1. Before intervention, the mean score on service quality of nursing team of the benchmark group was significantly higher than the experimental group and the control group at the .001 level, but there were no significant differences between the experimental group and the control group. 2. After intervention, there were no significant differences in service quality of nursing team between the benchmark group and the experimental group, while the mean score of the experimental group was significantly higher than the control group at the .001 level. 3. The mean score on service quality of nursing team in the experimental group after intervention was significantly higher than before intervention at the .001 level.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการพยาบาลเป็นทีมen_US
dc.subjectการควบคุมคุณภาพen_US
dc.subjectการเปรียบเทียบจุดเด่น (การจัดการ)en_US
dc.subjectTeam nursingen_US
dc.subjectQuality controlen_US
dc.subjectBenchmarking ‪(Management)‬en_US
dc.titleผลของการใช้เบ็นซ์มารค์กิ้งในการพัฒนาการทำงานในทีมการพยาบาล ต่อคุณภาพการบริการของทีมการพยาบาล : กรณีศึกษาโรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้าen_US
dc.title.alternativeRelationships between personal factors, career commitment, social resources, and career success of professional nurses, governmental hospitals, Bangkok Metropolisen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบริหารการพยาบาลen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBoonjai.S@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Oraphan_na_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ904.99 kBAdobe PDFView/Open
Oraphan_na_ch1_p.pdfบทที่ 11.07 MBAdobe PDFView/Open
Oraphan_na_ch2_p.pdfบทที่ 23.23 MBAdobe PDFView/Open
Oraphan_na_ch3_p.pdfบทที่ 31.24 MBAdobe PDFView/Open
Oraphan_na_ch4_p.pdfบทที่ 4829.19 kBAdobe PDFView/Open
Oraphan_na_ch5_p.pdfบทที่ 51.14 MBAdobe PDFView/Open
Oraphan_na_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.63 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.