Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65937
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประจิต หาวัตร-
dc.contributor.authorจักรพันธ์ จินดาวงศ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี-
dc.date.accessioned2020-05-23T20:05:09Z-
dc.date.available2020-05-23T20:05:09Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.issn9745321818-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65937-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (บช.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงแนวทางการปฏิบัติงานและแนวโน้มของบัญชีการเงินเพื่อสิ่งแวดล้อม และแนวโน้มในการเปิดเผยข้อมูลสิ่งแวดล้อมในรายงานทางการเงินและรายงานผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมในช่วงปี 2539 ถึง 2544 กลุ่มตัวอย่างสำหรับการวิจัยนี้ได้แก่ บริษัทในอุตสาหกรรม 9 ประเภท ที่องค์การสหประชาชาติกำหนดว่า การดำเนินงานมีผลกระทบโดยตรงหรือมีนัยสำคัญต่อสิ่งแวดล้อมจำนวน 40 บริษัท ผู้วิจัยได้เก็บรวบรวมข้อมูลการเปิดเผยสารสนเทศสิ่งแวดล้อมโดยใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาสาระจากข้อมูลสิ่งแวดล้อมที่พบในรายงานทางการเงินและรายงานผลการดำเนินงานด้านสิ่งแวดล้อมของบริษัทกลุ่มตัวอย่างและได้ทำการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับความมีนัยสำคัญของการเปลี่ยนแปลงการเปิดเผยข้อมูลโดยใช้ McNemar Test ผู้วิจัยได้ทำการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกกับผู้อำนวยการฝ่ายบัญชีหรือสมุห์บัญชีจาก 7 บริษัทในกลุ่มตัวอย่างเพื่อเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับแนวการปฏิบัติงานบัญชีการเงินเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ผลจากการทดสอบสมมติฐานพบว่า มีการเพิ่มขึ้นในแนวโน้มการปฏิบัติงานบัญชีการเงินที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมและแนวโน้มการเปิดเผยสารสนเทศสิ่งแวดล้อมของกลุ่มตัวอย่างที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ในช่วงปี 2539 ถึง 2544 รูปแบบการเปิดเผยสารสนเทศสิ่งแวดล้อมที่พบมากที่สุดคือ สารสนเทศเชิงคุณภาพ ซึ่งอีก 2 ประเภทได้แก่ เชิงปริมาณ และเชิงการเงิน ผู้ให้สัมภาษณ์กล่าวถึงปัญหาในการนำหสักการบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวกับรายการค่าใช้จ่ายสิ่งแวดล้อมและหนี้สินสิ่งแวดล้อมที่อาจเกิดขึ้นมาประยุกต์ใช้ในองค์กรว่าคือ ความยุ่งยากและปัญหาในการกำหนดมูลค่าและการจัดประเภทรายการเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม เนื่องจากขาดมาตรฐานการบัญชีในการอ้างอิงเป็นแนวทางในการปฏิบัติงาน นอกจากนี้ผลการวิจัยยังสามารถระบุว่า ปัจจัยภายนอกองค์กรที่มีผลต่อการกำหนดรูปแบบการเปิดเผยสารสนเทศสิ่งแวดล้อมมากที่สุด คือ สภาพเศรษฐกิจของประเทศ และปัจจัยภายในองค์กรที่มีผลต่อการกำหนดรูปแบบการเปิดเผยสารสนเทศมากที่สุด คือ ทัศนคติและการกำหนดนโยบายของฝ่ายบริหารต่อการจัดการด้านสิ่งแวดล้อม และสาเหตุสำคัญที่ทำให้จำนวนของบริษัทกลุ่มตัวอย่างเปิดเผยข้อมูลสิ่งแวดล้อมมากขึ้นได้แก่ การได้รับใบรับรอง ISO 14000 และความสมัครใจในการจัดทำรายงาน ผลการดำเนินด้านสิ่งแวดล้อม-
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis is to study the practices and trend of environmental financial accounting and environmental information disclosure between 1996 to 2001. The sample included 40 corporations from the 9 industries identified by the United Nations to have direct or significant environmental impacts. Content analysis was done on their financial reports and environmental performance reports. The statistical significance test of change is McNemar Test. In-depth interviews on environmental accounting practices were conducted with 7 financial controllers selected from the sample corporations. The hypothesis testing results indicate increases of environmental accounting and environmental information disclosure in the years 1996 and 2001 at the significant level of 0.05. Qualitative disclosure was the type used by most corporations while the other two types include quantitative and financial. The interviewees mentioned problems in measuring and classifying environment related transactions because of lacking accounting standard on the environmental issue. In addition, the results also reveal that national economic condition was the most important external factor impacting disclosure format. The most important internal factors were management attitude and policy on the environmental management. The increases in disclosures found in this research were driven by the ISO 14000 certificate the corporation received and voluntariness to report environmental performances.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2004.119-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการบัญชีเพื่อสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectรายงานการวิเคราะห์ผลกระทบสิ่งแวดล้อมen_US
dc.subjectEnvironmental auditingen_US
dc.subjectEnvironmental impact statementsen_US
dc.titleแนวการปฏิบัติและแนวโน้มทางการบัญชีการเงิน และการเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมของอุตสาหกรรมประเภทที่มีผลกระทบโดยตรงหรือมีนัยสำคัญต่อสิ่งแวดล้อมen_US
dc.title.alternativePractices and trend of environmental financial accounting and environmental disclosures of industries with direct or significant environmental impactsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameบัญชีมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการบัญชีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPrachit.H@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2004.119-
Appears in Collections:Acctn - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Jukapan_ji_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ1.07 MBAdobe PDFView/Open
Jukapan_ji_ch1_p.pdfบทที่ 1967.75 kBAdobe PDFView/Open
Jukapan_ji_ch2_p.pdfบทที่ 21.18 MBAdobe PDFView/Open
Jukapan_ji_ch3_p.pdfบทที่ 31.06 MBAdobe PDFView/Open
Jukapan_ji_ch4_p.pdfบทที่ 45.84 MBAdobe PDFView/Open
Jukapan_ji_ch5_p.pdfบทที่ 51.31 MBAdobe PDFView/Open
Jukapan_ji_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก814.85 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.