Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65943
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพร้อมพรรณ อุดมสิน-
dc.contributor.authorรุ่งนภา ทศภานนท์-
dc.date.accessioned2020-05-24T05:47:36Z-
dc.date.available2020-05-24T05:47:36Z-
dc.date.issued2544-
dc.identifier.isbn9741700091-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/65943-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544en_US
dc.description.abstractการวิจัยครังนิมีวัตฤประสงค์เพื่อ (1) ศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์(2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ระหว่างกลุ่มที่เรียนโดยใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ในการเรียนการสอนวิชา คณิตศาสตร์และกลุ่มที่มีการเรียนการสอนแบบปกติ (3) ศึกษาความสามารถในการสร้างแผนผังมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ (4) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และความสามารถในการสร้างแผนผังมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ในการเรียนการลอนวิชาคณิตศาสตร์ ตัวอย่างประชากรเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนตระกูลประเทืองวิทยาคม จังหวัดยโสธร ปีการศึกษา 2544 จำนวน 66 คน โดยแบ่งเป็นกลุ่มทดลองที่เรียนโดยใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์และกลุ่มควบคุมที่มีการเรียนการสอนแบบปกติ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บบรวบรวมข้อมูล คือ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ที่มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.91 และ แบบทดสอบวัดความสามารถในการสร้างแผนผังมโนทัศน์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตคิดเป็นร้อยละ มัธยฐานคิดเป็นร้อยละ ฐานนิยมคิดเป็นร้อยละ ความเบ้ (Skewness) ความโด่ง (Kurtosis) ค่าที (t-test) และ การคำนวณค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เพียร์สันโพรดัคโมเมนต์ ผลการวิจัย พบว่า 1. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ที่กำหนดไว้ 2. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงกว่านักเรียนกลุ่มที่เรียนแบบปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ที่เรียนโดยใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์มีความสามารถในการสร้างแผนผังมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ที่กำหนดไว้ 4. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์มีความสัมพันธ์ทางบวกกับความ สามารถในการสร้างแผนผังมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ของนักเรียนกลุ่มที่เรียนโดยใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์เท่ากับ 0.70-
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this study were (1) to study mathematics learning achievement of mattayom suksa four students learning by using the concept mapping technique in mathematics instruction (2) to compare mathematics learning achievement of mattayom suksa four students between group learning by using the concept mapping and learned through traditional method in mathematics instruction (3) to study concept mapping construction ability of mattayom suksa four students learning by using the concept mapping technique in mathematics instruction (4) to study the correlation between mathematics learning achievement and concept mapping construction ability in mathematics of mattayom suksa four students learning by using the concept mapping technique in mathematics instruction. The subjects were 66 of mattayom suksa four students of Trakulpratuangwittayakom school atYasothon province in academic year 2001. They were divided into two groups, the first group learned by using the concept mapping technique and the second one learned through traditional method in mathematics instruction. The research instruments were the mathematics learning achievement test with the reliability of 0.91 and the test of concept mapping construction ability in mathematics. The data were analyzed by means of arithmetic mean of percentage, median of percentage, mode of percentage, skewness, kurtosis, t-test and Pearson product moment correlation coefficient. The results of this research revealed that : 1. the mathematics learning achievement of the mattayom suksa four students learning by using the concept mapping technique in mathematics instruction had met the criteria of 50 percent. 2. the mattayom suksa four students learned by using the concept mapping technique in mathematics instruction had higher mathematics learning achievement than those who learned through traditional method at 0.05 level of significance. 3. the concept mapping construction ability in mathematics of the mattayom suksa four students learning by using the concept mapping technique in mathematics instruction had met the criteria of 50 percent. 4. there was positive correlation between mathematics learning achievement and concept mapping construction ability of mattayom suksa four students learning by using the concept mapping technique in mathematics instruction at 0.05 level of significance, with the correlation coefficient 0.70.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2001.594-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectแผนผังมโนทัศน์en_US
dc.subjectผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนen_US
dc.subjectคณิตศาสตร์--การศึกษาและการสอน (มัธยมศึกษา)en_US
dc.subjectConcept mappingen_US
dc.subjectMathematics -- Study and teaching (Secondary)en_US
dc.subjectAcademic achievementen_US
dc.titleผลของการใช้เทคนิคการจัดแผนผังมโนทัศน์ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ และความสามารถในการสร้างแผนผังมโนทัศน์ทางคณิตศาสตร์ ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4en_US
dc.title.alternativeEffects of the concept mapping technique on the achievement and concept mapping construction ability in mathematics of mattayom suksa four studentsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการศึกษาคณิตศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPrompan.U@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2001.594-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Rungnapa_th_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ814.65 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_th_ch1_p.pdfบทที่ 1938.65 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_th_ch2_p.pdfบทที่ 22.26 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_th_ch3_p.pdfบทที่ 31.01 MBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_th_ch4_p.pdfบทที่ 4741.88 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_th_ch5_p.pdfบทที่ 5832.51 kBAdobe PDFView/Open
Rungnapa_th_back_p.pdfรายการอ้างอิงและภาคผนวก1.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.