Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6594
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย เทพรักษ์-
dc.contributor.authorณัฐกฤต วิสุทธิแพทย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2008-04-11T09:15:35Z-
dc.date.available2008-04-11T09:15:35Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745323837-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6594-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractงานวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการเคลื่อนตัวด้านข้างของเสาดินซีเมนต์ (Deep Cement Mixing Column, CDM) ที่ประยุกต์มาใช้สำหรับงานขุดดินลึกในดินกรุงเทพ (Bangkok Clay) เพื่อก่อสร้างโครงสร้างกันดินใน 2 ส่วน คือ โครงสร้างประตูระบายน้ำ และโครงสร้างคลอง โครงสร้างประตูระบายน้ำเป็นอาคารประตูระบายน้ำคอนกรีตเสริมเหล็กขนาดใหญ่ ที่มีการขุดดิน ลึกประมาณ 11.50 ม. และมีระบบป้องกันดินชั่วคราวเป็นระบบกำแพงเสาดินซีเมนต์ เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.80 ม. จำนวน 9 แถว ต่อเนื่องกันเป็นความหนา 6.34 ม. ความลึกของเสาดินซีเมนต์แปรเปลี่ยนอยู่ระหว่าง 11.00 - 18.00 ม. โดยออกแบบเป็นลักษณะของกำแพงทึบ (Gravity wall) ในส่วนโครงสร้างคลองเป็น โครงสร้าง กำแพงคลองที่ประยุกต์ใช้กำแพงเสาดินซีเมนต์เป็นกำแพงถาวรโดยกำแพงเสาดินซีเมนต์ มีจำนวน 8 แถว หนา 5.56 ม. ลึก 18.00 ม. เพื่อขุดดินลึกประมาณ 8.00 ม. โดยมีการเสริมด้านหน้า กำแพงเสาดินซีเมนต์ด้วยแผ่นพื้นคอนกรีตหนา 0.30 ม. ลึก20 ม. พฤติกรรมการเคลื่อนตัวด้านข้างของ กำแพงเสาดินซีเมนต์ ขณะทำการขุดดินลึก 11.50 ม. บริเวณประตูระบายน้ำ พบว่าการเคลื่อนตัวของ กำแพงเสาดินซีเมนต์เป็นลักษณะคานยื่น เมื่อค่าความเครียดเฉือน (Shear strain) ของกำแพงเสาดิน ซีเมนต์อยู่ระหว่าง 1-2% แต่เมื่อการเคลื่อนตัวสูงขึ้น มีค่าความเครียดเฉือนมากกว่า 2% จะเกิดการวิบัติ และเสาเข็มดินซีเมนต์จะเกิดการแยกตัวจากกัน ผลการวิเคราะห์ด้วยไฟไนเอลิเมนต์พบว่าค่ากำลังผิวสัมผัส ระหว่างเสาเข็มดินซีเมนต์มีค่าประมาณ 44-70% และ 20-43% ของกำลังรับแสงเฉือนของเสาดินซีเมนต์ สำหรับการเคลื่อนตัวของกำแพงเสาดินซีเมนต์ ที่มีค่าความเครียดเฉือนอยู่ระหว่าง 1-2% และมากกว่า 2% ตามลำดับ พฤติกรรมการเคลื่อนตัวด้านข้างของกำแพงเสาดินซีเมนต์บริเวณโครงสร้างคลองที่มีขุดดิน ตื้นกว่าที่ออกแบบไว้ โดยขุดดินลึกเพียงประมาณ 4 ม. จะมีการเคลื่อนตัวเป็นลักษณะคานยื่น แต่เสาเข็ม ดินซีเมนต์ไม่เกิดการแยกตัวจากกันและเกิดความเครียดเฉือนของกำแหงเสาดินซีเมนต์น้อยกว่า 0.81% โดยมีค่ากำลังผิวสัมผัสระหว่างเสาดินซีเมนต์ใกล้เคียงกับกำลังรับแรงเฉือนของเสาดินซีเมนต์en
dc.description.abstractalternativeThis research aims to study lateral movement behavior of deep cement mixing column (DCM Column) acting as retaining structures for deep excavation in Bangkok clay. The retaining structures consists of 2 parts as the drainage gates structure and the canal structure. The drainage gate structure is the large reinforced concrete structure having deep excavation of 11.50 m. The temporary retaining structure for deep excavation consists of 9 rows of 0.80 m. deep cement mixing column about 6.34 m. thick depth of DCM column vary from 11.00-18.00 m. The canal structure was designed by using the DCM column wall as the permanent canal wall structure. The DCM Column wall was faced with reinforced concrete sheet 0.30 m. thick and 20 m. long for excavation of 8.00 m. depth. The canal structure consists of 8 rows of 0.8-0 m. DCM column about 5.56 m. thick and 18.00 m. depth. The lateral movements behavior of DCM column for 11.5 m. depth excavation at drainage gate structure was in the cantilever mode for shear strain of DCM wall in the order of 1-2%. When lateral movement of DCM wall was higher with shear strain more than 2%, the DCM wall was failed and each DCM columns was separated. The finite element analysis (FEM) showed that the shear interface between DCM column was in the order of 44- 70% and 20-43% of the undrained shear strength of DCM column for DCM movement with shear strain of 1-2% and more than 2%, respectively. The lateral movement behavior of DCM column for canal structure with depth of excavation only about 4 m. depth shallower than designed depth was in the cantilever mode but without any separating on DCM column. The shear strain of DCM wall was in the order of less than 0.81% and the shear interface between DCM column was closed to the undrained shear strength of ADCM column.en
dc.format.extent28308938 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectดินซีเมนต์en
dc.subjectเสาเข็มen
dc.subjectกำแพงดินen
dc.titleพฤติกรรมการเคลื่อนตัวของเสาดินซีเมนต์ลึกสำหรับงานโครงสร้างกันดินen
dc.title.alternativeMovement behavior of deep cement mixing column for retaining structureen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorfcewtp@eng.chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nutthakit.pdf27.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.