Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66087
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวันชัย ริจิรวนิช-
dc.contributor.advisorสมชาย พัวจินดาเนตร-
dc.contributor.authorธงชัย โชติเวที-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-30T19:49:51Z-
dc.date.available2020-05-30T19:49:51Z-
dc.date.issued2547-
dc.identifier.issn9745313602-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66087-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้เพื่อศึกษาเกี่ยวกับการปรับปรุงอัตราผลผลิตโดยการจัดสมดุลสายการผลิตของสายการประกอบโช้คอัพ ผู้ศึกษางานวิจัยได้ทำการเลือกสายการประกอบ B เพื่อเป็นสายการประกอบตัวอย่างของโรงงาน ซึ่งในสายการประกอบตัวอย่างมีทั้งหมด 9 สถานีงานและได้ทำการปรับปรุงในสองรูปแบบ คือ Job Improvement และ Line balancing จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพของสายการประกอบโดยมีอัตราผลผลิตเท่ากับ 1,986 ชิ้นต่อวัน และสามารถคำนวณประสิทธิภาพได้79.18% จากการจัดสมดุลงานใหม่ทำให้สถานีงานลดลงเหลือ 7 สถานีงาน และ Cycle Time ลดลงจาก 14.50 วินาที/ชิ้น ไปเป็น 13.55 วินาที/ชิ้น ซึ่งทำให้อัตราผลผลิตเพิ่มชิ้นเป็น 2,125 ชิ้นต่อวัน โดยสามารถคำนวณประสิทธิภาพของสายการประกอบได้เท่ากับ 92.83% ส่งผลให้อัตราผลผลิตเพิ่มขึ้น 6.99%-
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study the automobile shock absorber assembly line in order to improve the productivity by balancing the production line. The shock absorber line B in the factory was chosen as a sample assembly line for analysis. There exist 9 stations handling. Improvement are made tin two dimension, ie., job improvement and line balancing. From the study it is revealed that the line efficiency with line production late of 1,986 units/day. Originally calculated at 79.18%. By rearrangement of make element, then, 7 stations are setup. The cycle time is reduced from 14.50 sec/unit is 13.55 sec/unit. Improvement of production rate and line efficiency into 2,125 units/day and 92.83% or productivity improvement by 6.99%-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการเพิ่มผลผลิตทางอุตสาหกรรมen_US
dc.subjectการจัดสมดุลสายการผลิตen_US
dc.subjectระบบการผลิตแบบทันเวลาen_US
dc.subjectอุตสาหกรรมยานยนต์en_US
dc.subjectIndustrial productivityen_US
dc.subjectAssembly-line balancingen_US
dc.subjectJust-in-time systemsen_US
dc.subjectMotor vechicle industryen_US
dc.subjectShock absorbersen_US
dc.titleการเพิ่มอัตราผลผลิตสายการประกอบโช้คอัพของการผลิตโช้คอัพen_US
dc.title.alternativeProductivity improvement for assembly line for shock absorber productionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorVanchai.R@chula.ac.th-
dc.email.advisorSomchai.Pua@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Thongchai_ch_front_p.pdfหน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ977.38 kBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ch_ch1_p.pdfบทที่ 11.15 MBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ch_ch2_p.pdfบทที่ 22.89 MBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ch_ch3_p.pdfบทที่ 31.17 MBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ch_ch4_p.pdfบทที่ 43.75 MBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ch_ch5_p.pdfบทที่ 53.94 MBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ch_ch6_p.pdfบทที่ 61.38 MBAdobe PDFView/Open
Thongchai_ch_back_p.pdfรายการอ้างอิง และภาคผนวก1.23 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.