Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66107
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเจริญขวัญ ไกรยา-
dc.contributor.authorวนัสนันท์ รัตนกุลชัยวัฒน์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-31T07:55:25Z-
dc.date.available2020-05-31T07:55:25Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66107-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractศึกษาการหายไปของสัญญาณตะกั่วโดยใช้ขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีน ร่วมกับเทคนิคสแควร์เวฟแอโนดิก สตริปปิงโวลแทมเมทรี ในงานวิจัยนี้ได้ศึกษาสภาวะที่เหมาะสมสำหรับตรวจวัดสัญญาณของตะกั่ว จากผล การศึกษาพบว่า เมื่อใช้ขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนดัดแปรด้วยบิสมัท จะให้สัญญาณของตะกั่วดีที่สุด เมื่อตรวจวัดใน สารละลายบัฟเฟอร์โพแทสเซียมอะซิเตต ที่พีเอช 5.6 จากนั้นทดสอบการใช้ซ้ำของขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนพบว่า มี วิธีการล้างขั้วไฟฟ้าที่ทำให้สามารถนำขั้วไฟฟ้ากลับมาใช้งานซ้ำได้อย่างน้อย 30 ครั้งต่อการใช้งานใน 1 วันโดยไม่ทำให้ค่าสัญญาณไฟฟ้าลดลง เมื่อนำสภาวะที่เหมาะสมดังกล่าวไปตรวจวัดตะกั่วพบว่า มีความสัมพันธ์เป็น เส้นตรงในช่วงความเข้มข้น 0.5–15 มิลลิกรัมต่อลิตร โดยมีค่าความเป็นเส้นตรง (R²) เท่ากับ 0.9954 ขีดจำกัด ของการตรวจวัด (LOD) เท่ากับ 92 ไมโครกรัมต่อลิตร ขีดจำกัดของการหาปริมาณ (LOQ) เท่ากับ 306 ไมโครกรัมต่อลิตร ตามลำดับ เมื่อทำการศึกษาการหายไปของสัญญาณตะกั่วในสภาวะที่มีแอปตาเมอร์ ยืนยัน ว่า แอปตาเมอร์มีผลต่อความสูง และกระแสบริเวณฐานพีกของตะกั่วซึ่งทำให้ค่าสัญญาณของตะกั่วลดลงen_US
dc.description.abstractalternativeDisappearance of lead signal was studied using screen-printed electrode along with squarewave anodic stripping voltammetric technique. The study was begun by finding suitable conditions for the lead-signal determination. Results reviewed that using a bismuth-doped carbon screen-printed electrode, the lead signal was nicely determined in potassium acetate solution at pH 5.6. A possibility of the electrode recycling was also tested. The results demonstrated that with a good cleaning method, the electrode was able to handle at least 30 scans per day without an unacceptable drop in signal. By using this method, good linearity was found in a range of 0.5–15 ppm Pb²⁺ with R² 0.9954 where LOD and LOQ were 92 and 306 μg/L, respectively. The method was then employed in studies of lead-signal disappearance in solutions containing aptamer. Results confirmed that aptamer had effects on both the height and the baseline of the lead signal which caused the lost of the lead signal.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการตรวจวัดการหายไปของตะกั่วด้วยแอปตาเมอร์ โดยใช้ขั้วไฟฟ้าพิมพ์สกรีนen_US
dc.title.alternativeDetermination of lead disappearance by aptamer using screen-printed electrodeen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorCharoenkwan.K@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Wanasanan Ra_SE_2560.pdf1.31 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.