Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6610
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.author | พร้อมพรรณ อุดมสิน | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2008-04-18T01:47:30Z | - |
dc.date.available | 2008-04-18T01:47:30Z | - |
dc.date.issued | 2528 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/6610 | - |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มุ่งศึกษาความต้องการของครูอาจารย์ในการเสริมสร้างสมรรถภาพการวิจัยทางการศึกษา โดยมีรายละเอียดดังนี้ 1. เพื่อศึกษาสถานภาพที่เกี่ยวกับการวิจัยของครูอาจารย์ในกรุงเทพมหานครที่สอนในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา 2. เพื่อศึกษาความต้องการการเสริมสมรรถภาพในด้านการอ่านงานวิจัยทางการศึกษาของครูอาจารย์ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา 3. เพื่อศึกษาความต้องการการเสริมสมรรถภาพในด้านการใช้ผลงานวิจัยทางการศึกษา ตลอดจนปัญหาอุปสรรคในการใช้ผลงานวิจัยทางการศึกษาของครูอาจารย์ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา 4. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านงานวิจัยทางการศึกษากับสถานภาพที่เกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาของครูอาจารย์ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา 5. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ผลงานวิจัยทางการศึกษากับสถานภาพที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยทางการศึกษาของครูอาจารย์ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา 6. เพื่อศึกษารูปแบบการเสริมสมรรถภาพการวิจัยทางการศึกษาให้แก่ครูอาจารย์ ในระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ตัวอย่างประชากรในการวิจัยนี้แยกออกเป็น 2 ประเภท ประเภทแรกเป็นครูและผู้บริหารในโรงเรียนประถมศึกษาจำนวน 961 คน ครูและผู้บริหารในโรงเรียนมัธยมศึกษาจำนวน 1052 คน และอาจารย์และผู้บริหารระดับอุดมศึกษาในสถาบันผลิตครู จำนวน 587 คน สำหรับตัวอย่างประชากรประเภทที่สองเป็นผู้ทรงคุณวุฒิทางการศึกษาและการวิจัยทางการศึกษา ระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา รวมทั้งสิ้น 15 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ที่สร้างโดยผู้วิจัยเอง แบบสอบถามใช้เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูอาจารย์เกี่ยวกับความต้องการการเสริมสมรรถภาพการวิจัยทางการศึกษา ส่วนแบบสัมภาษณ์ใช้เพื่อศึกษารูปแบบการเสริมสมรรภาพการวิจัยทางการศึกษา การวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสอบถามคิดเห็นเกี่ยวกับความต้องการการเสริมสมรรถภาพการวิจัยทางการศึกษา ใช้โปรแกรมสำเร็จรูป Statistical Package for Social Science ( SPSS) หาค่าร้อยละ มัชฌิมเลขคณิต ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสถิติไคสแคว์ และสัมประสิทธิ์การณ์จร สำหรับการวิเคราะห์ข้อมูลจากแบบสัมภาษณ์โดยการหาค่าร้อยละและรวบรวมเสนอเชิงบรรยาย ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. สำหรับสถานภาพที่เป็นประสบการณ์เกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาของครูระดับประถมศึกษา มัธยมศึกษา และอุดมศึกษา ปรากฏว่าจำนวนอาจารย์ระดับอุดมศึกษาที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการวิจัยทางการศึกษาคิดเป็นร้อยละมีมากกว่าครูในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา 2. ความต้องการของครูอาจารย์ในด้านการอ่านงานวิจัยทางการศึกษา พบว่า ครูระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษาต้องการความรู้ทางการศึกษาเพื่อเสริมสมรรถภาพด้านการอ่านงานวิจัยทางการศึกษามากที่สุดในเรื่อง ความรู้เกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอนส่วนอาจารย์ระดับอุดมศึกษาต้องการความรู้ทางการศึกษามากสุดในเรื่อง ความรู้ในเนื้อหาทางวิชาการ ส่วนความต้องการความรู้ทางการวิจัยและสถิติเพื่อเสริมสมรรถภาพการอ่านงานวิจัย พบว่า ครูอาจารย์แต่ละระดับต้องการความรู้ทางการวิจัยและสถิติอยู่ในระดับมาก 3. ความต้องการของครูอาจารย์ในด้านการใช้ผลงานวิจัยทางการศึกษาเพื่อเสริมสมรรถภาพการวิจัยทางการศึกษา พบว่าอาจารย์ในระดับอุดมศึกษามีความต้องการเครื่องอำนวยความสะดวกของแหล่งความพร้อมทางการวิจัยคิดเป็นร้อยละมากกว่าครูระดับประถมศึกษา และมัธยมศึกษา 4. มีความสัมพันธ์ระหว่างการอ่านงานวิจัยทางการศึกษากับสถานภาพที่เป็นประสบการณ์การวิจัยของครูอาจารย์แต่ละระดับที่สอน 5. มีความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ผลงานวิจัยทางการศึกษา กับสถานภาพที่เป็นประสบการณ์การวิจัยของครูอาจารย์แต่ละระดับที่สอน 6. การเสริมสมรรถภาพการวิจัยทางการศึกษาสำหรับครูระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา เน้นรูปแบบการให้อ่านงานวิจัยที่เป็นภาษาง่าย และการทำงานวิจัยเชิงประยุกต์หรืองานวิจัยเชิงปฏิบัติ ส่วนการเสริมสมรรถภาพการวิจัยทางการศึกษาแก่อาจารย์ระดับอุดมศึกษาเน้นรูปแบบการให้การอบรมและการสร้างบรรยากาศในการวิจัยเพื่อส่งเสริมให้อาจารย์ทุกคนทำงานวิจัย | en |
dc.description.abstractalternative | The main purpose of this research was to study teachers' needs for promotion of educational research competencies. The research included: 1. The study of research status of teachers in Bangkok Metropolis teaching at elementary, secondary and higher education levels. 2. The study of needs for promotion of competencies in reading the educational research of teacher at elementary, secondary and higher education levels. 3. The study of needs of teachers teaching at elementary, secondary and higher education levels for promotion of competencies in utilizing educational research results, as well as the problems in utilizing them. 4. The study of the relationships between reading the educational research and educational research status of teachers at elementary, secondary and higher education levels. 5. The study of the relationships between the utilization of educational research results and educational research status of teachers at elementary, secondary and higher educational levels. 6. The study of models forpromotion of educational research competencies for teachers at elementary, secondary and higher education levels. Two types of samples were used in this research. The first type of sample consisted of 961 teachers and administrators in elementary schools, 1052 teachers and administrators in secondary schools and 587 teachers and administrators in higher institutions for teacher training. The second type of sample consisted of 15 experts in education and in educational research at elementary, secondary and higher education levels. The instruments used in this research were a questionnaire and an interview form constructed by the researcher herself. The questionnaire was designed to investigate teachers' opinions concerning the needs for promotion of educational research competencies, while the interview form was designed to investigate the models for the promotion of the educational research competencies. The data obtained for the questionnaires were analyzed by using the Statistical Package for the Social Science (SPSS) to compute percentage, means, standard deviation, Chi-square and contingency coefficient of correlation. The data obtained form the interviews were analyzed by percentages and than reporting in the form of description. The research findings were as follows: 1. For the experiences in educational research, higher percentage of teachers at higher education level than teachers at elementary and secondary levels. 2. For the needs of teachers in reading educational research, elementary and secondary school teachers needed the educational knowledge in the process of learning and teaching the most. While the teachers at higher education level needed the educational knowledge in content area the most. Elementary and secondary school teachers and higher education teachers also needed the knowledge in research and statistics at the high level. 3. For the needs of utilizing the educational research results, teachers in higher education level had the facilities in utilizing research results at higher percentage than teachers at elementary and secondary education levels. 4. There was a relationship between reading education research and experiences in educational research of teachers at each level. 5. There was a relationship between utilizing educational research results and experiences in educational research of teachers at each level. 6. The models for promotion of educational research competencies for teachers at elementary and secondary education levels the interviews were analyzed by percentages and then reporting in the form of description. The research findings were as follows: 1. For the experiences in educational research, higher percentage of teachers at higher education level than teachers at elementary and secondary levels. 2. For the needs of teachers in reading educational research, elementary and secondary school teachers needed the educational knowledge in the process of learning and teaching the most. While the teachers at higher education level needed the educational knowledge in content areathe most. Elementary and secondary school teachers and higher education teachers also needed the knowledge in research and statistics at the high level. 3. For the needs of utilizing the educational research results, teachers in higher education level had the facilities in utilizing research results at higher percentage than teachers at elementary and secondary education levels. 4. There was a relationship between reading education research and experiences in educational research of teachers at each level. 5. There was a relationship between utilizing educational research results and experiences in educational research of teachers at each level. 6. The models for promotion of educational research competencies for teachers at elementary and secondary education levels should emphasize on reading educational research which were presented in simple language, and in doing an action research as well as an applied research. Where as the models for promotion of educational research competencies for teachers at higher education level should emphasize on the research training and constructing research atmosphere that will encourage every teachers to do research. | en |
dc.format.extent | 14567274 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | th | es |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en |
dc.subject | การศึกษา--วิจัย | en |
dc.subject | วิจัย | en |
dc.title | ความต้องการการเสริมสมรรถภาพการวิจัยทางการศึกษา : รายงานการวิจัย | en |
dc.title.alternative | Needs for promotion of educational research competencies | en |
dc.type | Technical Report | es |
dc.email.author | Prompan.U@chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Edu - Research Reports |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Prompan(Education).pdf | 14.23 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.