Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66128
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | นิปกา สุขภิรมย์ | - |
dc.contributor.author | รุจยา พรวรรณนะชัย | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2020-05-31T14:39:59Z | - |
dc.date.available | 2020-05-31T14:39:59Z | - |
dc.date.issued | 2560 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66128 | - |
dc.description | โครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560 | en_US |
dc.description.abstract | MIL-101 (MIL, Matérial Institut Lavoisier) เป็นหนึ่งในต้นแบบเมทัลออร์กานิคเฟรมเวิร์คที่สำคัญชนิดหนึ่ง ซึ่งถูกศึกษาและใช้กันอย่างกว้างขวางในหลายสาขาวิทยาศาสตร์ เช่นในเรื่องตัวเร่งปฏิกิริยา ตัวกักเก็บแก๊ส เป็นต้น โดยทั่วไปแล้วในการสังเคราะห์ MIL-101(Cr) ซึ่งมีโครเมียมเป็นพื้นฐานมักจะใช้กรดไฮโดรฟลูออริกซึ่งมีอันตราย ในที่นี้จึงได้เลือกใช้วิธีที่ปราศจากกรดไฮโดรฟลูออริก โดยสังเคราะห์ MIL-101(Cr) และ MIL-101(Cr,Fe) ซึ่งเป็นการแทนที่โครเมียมด้วยเหล็กในโครงสร้าง MIL-101 โดยใช้วิธีไฮโดรเทอร์มอล ผลิตภัณฑ์ที่ได้นั้นจะถูกพิสูจน์เอกลักษณ์โดยเทคนิคเอกซเรย์พาวเดอร์ดิฟแฟรกชัน เทคนิคฟูเรียร์ทรานส์ฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี และการใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด หลังจากนั้นได้ทำการศึกษาการเร่งปฏิกิริยาด้วยแสงของผลิตภัณฑ์ที่สังเคราะห์ได้ โดยติดตามการสลายของเมทิลีน บลู ด้วยเทคนิคยูวีวิสิเบิลสเปกโทรสโกปี และเทียบผลการเร่งปฏิกิริยากับช่องว่างของแถบพลังงานที่หาได้จากเทคนิคดิฟฟิวส์รีเฟล็กแทนซ์ ยูวีสเปกโทรสโกปี จากผลการทดลองพบว่าสามารถสังเคราะห์ MIL-101 ทั้งสองชนิดได้โดยไม่มีสิ่งเจือปน อย่างไรก็ตามการแทนที่โครเมียมด้วยเหล็กในโครงสร้าง MIL-101 ทำให้การเร่งปฏิกิริยาเชิงแสงมีประสิทธิภาพต่ำลง เนื่องจากมีช่องว่างของแถบพลังงานที่กว้างขึ้น | en_US |
dc.description.abstractalternative | MIL-101 (MIL, Matérial Institut Lavoisier) was one of the important models of metal-organic frameworks (MOFs), which were widely studied and used in many scientific fields, such as catalysts and gas storages. Normally, the synthesis of MIL-101(Cr), which has chromium as a base metal, uses a harmful hydrofluoric acid. In this work, the hydrothermal method was chosen, without using hydrofluoric acid, to prepare MIL-101(Cr) and the iron-substituted MIL-101 or MIL-101(Cr,Fe). The products were characterized by XRD, FT-IR, and SEM. After that, the photocatalytic property was studied via the decomposition of methylene blue by UV-Vis spectroscopy. The catalytic result was compared with the energy band gap measured by DR-UV spectroscopy. In conclusion, The synthesis of both MIL-101(Cr) and MIL-101(Cr,Fe) was successful. However, the substitution of chromium by iron (MIL-101(Cr,Fe)) gave lower photocatalytic efficiency due to a wider band gap. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | Metal-organic frameworks | en_US |
dc.title | การสังเคราะห์และศึกษาสมบัติการเร่งปฏิกิริยาของสารประกอบเมทัลออร์กานิคเฟรมเวิร์ค | en_US |
dc.title.alternative | Synthesis and catalytic study of metal-organic framework compounds | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | Nipaka.S@Chula.ac.th | - |
Appears in Collections: | Sci - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Rutjaya Ph_SE_2560.pdf | 4.67 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.