Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66134
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสกุลสุข อุ่นอรุโณทัย-
dc.contributor.authorพงศกร เมฆขุนทด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-05-31T14:54:33Z-
dc.date.available2020-05-31T14:54:33Z-
dc.date.issued2560-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66134-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2560en_US
dc.description.abstractปัจจุบันตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดวิวิธพันธุ์ถูกใช้อย่างกว้างขวาง เพราะนอกจากจะสามารถแยกออกจากผลิตภัณฑ์ได้ง่ายแล้ว ยังสามารถนำกลับมาใช้ซ้ำได้ นอกจากนั้น การใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดนี้ สามารถลดการปล่อยของเสียโลหะหนักออกสู่สิ่งแวดล้อมซึ่งเป็นไปตามเป้าหมายหลักของเคมีสีเขียว ในงานวิจัยนี ผู้วิจัยได้เตรียมตัวเร่งปฏิกิริยาชนิดวิวิธพันธุ์ขึ้นมาเพื่อใช้ในการเร่งปฏิกิริยาซูซูกิ-มิยาอุระ การสังเคราะห์ตัวเร่งปฏิกิริยา Pd/rGO และ Pd/fn-rGO ทำได้โดยการรีดิวซ์ไอออน Pd²⁺ ด้วยกรดฟอร์มิกในสารละลายที่มีวัสดุรองรับกราฟีนออกไซด์ (GO) และกราฟีนออกไซด์ที่ถูกดัดแปรด้วยพาราฟีนิลีนไดเอมีน (fn-GO) กระจายตัวอยู่ ตามลำดับ ตัวเร่งปฏิกิริยาทั้งหมดถูกนำไปพิสูจน์เอกลักษณ์ด้วยเทคนิครามานสเปกโทรสโกปี ฟูเรียร์ทรานสฟอร์มอินฟราเรดสเปกโทรสโกปี (FT-IR spectroscopy) การเลี ยวเบนของรังสีเอกซ์ (XRD) การถ่ายภาพด้วยกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (SEM) และอินดักทีฟลีคัพเพิลพลาสมา- ออพติคัลอิมิสชันสเปกโทรสโกปี (ICP-OES) จากนั้นนำตัวเร่งปฏิกิริยาไปทดสอบความสามารถในการเร่งปฏิกิริยาซูซูกิ-มิยาอุระ ซึ่งพบว่าการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยา Pd/rGO ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่มีผลผลิตร้อยละที่ดีเยี่ยม ถึง 99% และตัวเร่งปฏิกิริยาสามารถใช้ซ้ำได้สูงถึง 6 ครั้งโดยไม่สูญเสียประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาอย่างมีนัยสำคัญ ในขณะที่ตัวเร่งปฏิกิริยา Pd/fn-rGO มีประสิทธิภาพในการเร่งปฏิกิริยาที่ต่ำตั้งแต่การใช้ครั้งแรกซึ่งไม่เป็นไปตามที่คาดไว้ ผู้วิจัยเชื่อว่าเกิดจากการใช้ตัวรีดิวซ์ที่ไม่แรงพอในการเตรียม Pd/fn-rGO รวมทั้งอาจเกิดปฏิกิริยาแข่งขันขึ้นในระบบนี้en_US
dc.description.abstractalternativeCurrently, heterogeneous catalysts are widely used because they are not only easy to be removed from reaction mixtures but also are reusable. Moreover, using them can reduce the amount of heavy metal wastes released into the environment which helps fulfilling a primary goal of green chemistry. In this study, we prepared heterogeneous catalysts Pd/rGO and Pd/fn-rGO for Suzuki-Miyaura reaction. Catalysts Pd/rGO and Pd/fn-rGO were synthesized by reducing Pd²⁺ ions using formic acid in the presence of solid supports graphene oxide (GO) and p-phenylenediamine functionalized graphene oxide (fn-GO), respectively. All catalysts were characterized by Raman spectroscopy, Fourier transform infrared (FT-IR) spectroscopy, X-ray diffraction (XRD), scanning electron microscopy (SEM) and inductively coupled plasma optical emission spectroscopy (ICP-OES). Then, all catalysts were tested on Suzuki-Miyaura reaction. We found that using Pd/rGO gave a product with excellent yields and the catalyst had high reusability of 6 cycles without any significant loss of catalytic activity. Unexpectedly, Pd/fn-rGO has shown low catalytic activity since the first cycle. We believe that the reducing agent was not strong enough for preparing Pd/fn-rGO and a competing reaction was also possible in this system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอนุภาคนาโนen_US
dc.subjectแพลเลเดียมen_US
dc.subjectกราฟีนออกไซด์en_US
dc.titleการสังเคราะห์อนุภาคระดับนาโนเมตรของแพลเลเดียมบนกราฟีนออกไซด์ที่ถูกดัดแปรหมู่ฟังก์ชันเพื่อใช้เป็นตัวเร่งปฏิกิริยาที่มีประสิทธิภาพสูงสาหรับปฏิกิริยาซูซูกิ-มิยาอุระen_US
dc.title.alternativeSynthesis of palladium nanoparticles on functionalized graphene oxides as highly efficient catalysts for Suzuki-Miyaura reactionen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Pongsakorn Me_SE_2560.pdf1.77 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.