Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66212
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวัลภา เอื้องไมตรีภิรมย์-
dc.contributor.authorศุภชา วิโรจน์แสงทอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-06T15:17:21Z-
dc.date.available2020-06-06T15:17:21Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66212-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractการปนเปื้อนของไอออนโลหะในน้ำเป็นปัญหาที่สำคัญ เนื่องจากไอออนโลหะที่เจือปนใน สิ่งแวดล้อมจะก่อให้เกิดความเป็นพิษเมื่อมีปริมาณมาก งานวิจัยนี้จึงพัฒนาวิธีตรวจวัดไอออนโลหะ ได้แก่ โคบอลต์(II) นิกเกิล(II) ซิงค์(II) และเลด(II) ในสารละลายตัวอย่างด้วยตาเปล่าโดยใช้เทคนิคบัลค์ ออปโทด โดยมีองค์ประกอบของแผ่นเมมเบรนดังนี้คือ 1-(2-pyridylazo)-2-naphtol (PAN) เป็น ไอโอโนฟอร์ potassium tetrakis(4-chlorophenyl) borate (KTpClPB), bis(2-ethylhexyl) sebacate (DOS) และ polyvinyl chloride (PVC) เป็นแคตไอออนเอกซ์เชนจ์เจอร์ พลาสติไซเซอร์ และพอลิเมอร์ ตามลำดับ พบว่าแผ่นเมมเบรนที่มีปริมาณไอโอโนฟอร์ 1 มิลลิกรัม แช่ในสารละลาย ไอออนที่พีเอช 5 แผ่นเมมเบรนเปลี่ยนสีจากสีเหลืองเป็นสีเขียว สีแดงปนม่วง สีแดง และสีน้ำตาล สำหรับโคบอลต์(II) นิกเกิล(II) ซิงค์(II) และเลด(II) ตามลำดับ โดยใช้เวลาในการตอบสนอง 2 นาที ขีดจำกัดการตรวจวัดไอออนโลหะด้วยวิธีการตรวจวัดด้วยตาเปล่าของไอออนโลหะทุกชนิดเท่ากับ 0.05 มิลลิโมลาร์ นอกจากนี้ยังได้ทดสอบการระบุชนิดไอออนโลหะในสารละลายตัวอย่าง พบว่า สามารถระบุชนิดไอออนโลหะในสารละลายตัวอย่างได้ถูกต้อง ยกเว้นสารละลายตัวอย่างที่มีความ เข้มข้นของไอออนโลหะน้อยกว่า 0.05 มิลลิโมลาร์ และยังประมาณช่วงความเข้มข้นของไอออนโลหะ ในสารละลายตัวอย่างโดยเทียบจากความเข้มสีของแผ่นเมมเบรนได้ผลเป็นที่น่าพอใจen_US
dc.description.abstractalternativeThe contamination of metal ions in water is an important problem because the excessive levels of metal ions can be damaging to the organism and environment. In this research, the bulk optode technique was developed for determination of Co(II), Ni(II), Zn(II) and Pb(II) ions in aqueous solution by using nakedeye detection. The membrane were composed of 1-(2-pyridylazo)-2-naphtol (PAN), potassium tetrakis(4-chlorophenyl) borate (KTpClPB), bis(2-ethylhexyl)sebacate (DOS) and polyvinyl chloride (PVC) as an ionophore, a cation exchanger, a plasticizer and a polymer, respectively. The membrane containing 1 mg of ionophore responded to Co(II), Ni(II), Zn(II) and Pb(II) ions at pH 5 by changing color of membrane from yellow to green, purple-red, red and brown, respectively. The response time was 2 minutes. The naked-eye detection limit of metal ions was 0.05 mM. Moreover, the qualitative determination was investigated. It was found that the metal ion present in sample solution was identified correctly, except the sample solution containing metal ions at the concentration below 0.05 mM. Furthermore, the concentration range of metal ion in water sample was satisfactorily approximated by comparing the color intensity of membrane with the color calibration chart. Keywords: bulken_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectไอออนโลหะen_US
dc.subjectบัลค์ออปโทดen_US
dc.titleการตรวจวัดไอออนโลหะบางชนิดในสารละลายด้วยตาเปล่าโดยใช้เทคนิคบัลค์ออปโทดen_US
dc.title.alternativeNaked-eye detection of some metal ions in aqueous solution using bulk optode techniqueen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorWanlapa.A@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2556_4.pdf1.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.