Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66213
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปกรณ์ วรานุศุภากุล-
dc.contributor.authorกฤตวัตร ธนศักดิ์โกศล-
dc.contributor.authorณธัฏศวัส สุนทรวิภาต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-06T15:20:36Z-
dc.date.available2020-06-06T15:20:36Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66213-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractวัตถุประสงค์ของงานวิจัยนี้คือการศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่ของไอโอเดตเข้าไปในไข่ไก่โดยใช้เทคนิคการนำส่งด้วยไฟฟ้าโดยใช้แบบจำลองเปลือกไข่ซึ่งทำโดยแทนที่เนื้อไข่ขาวและไข่แดงด้วยน้ำ Milli Q และทำการยึดแบบจำลองเปลือกไข่นี้ โดยการยาแนวฟิวเจอร์บอร์ดกับเปลือกไข่ไก่ ไว้กึ่งกลางของกล่องพลาสติกเพื่อแบ่งสารละลายออกเป็นสองด้านโดยให้ด้านหนึ่งเป็นด้านที่มี สารละลายไอโอเดต อิ่มตัวอีกด้านหนึ่งเป็นน้ำ Milli Q จัดวางขั้วไฟฟ้ าไว้ในแต่ละด้านของ แบบจำลองเปลือกไข่ โดยให้ด้านหนึ่งเป็นขั้วบวกหรือแอโนดซึ่งเป็นด้านที่มีน้ำ Milli Q และอีกด้าน หนึ่งเป็นขั้วลบหรือแคโทดซึ่งเป็นด้านที่มีสารละลาย ไอโอเดต อิ่มตัวภายใต้ศักย์ไฟฟ้าซึ่ง อาศัยแรงดันไฟฟ้าเป็นตัวผลักดันไอออนลบของไอโอเดตจะถูกผลักเข้าสู่แบบจำลองเปลือกไข่จาก แคโทดไปสู่แอโนดจากนั้นวิเคราะห์ปริมาณไอโอเดตที่ถูกเสริมเข้าไปด้วยเทคนิคคะพิลลารีอิเล็กโทรโฟริซิสโดยมีปัจจัยต่างๆได้แก่ศักย์ไฟฟ้าเวลาและตำแหน่งของขั้วไฟฟ้าจากการศึกษาใน งานวิจัยนี้พบว่าระดับไอโอเดตในแบบจำลองเปลือกไข่เพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มศักย์ไฟฟ้าและเวลา นอกจากนี้ตำแหน่งของขั้วไฟฟ้าที่นำมาวางติดกับแบบจำลองเปลือกไข่แสดงปริมาณไอโอเดตสูง กว่าตำแหน่งขั้วไฟฟ้าที่วางอยู่ห่างจากแบบจำลองเปลือกไข่en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research is to study factors affecting the diffusion of iodate into an egg by an electro-delivery technique using an eggshell model. The eggshell model was created by replacing egg white and egg yolk with Milli Q water. The model was fixed and sealed to the future board and placed in the middle of the plastic box to divide the box into two compartments; one was for a saturated iodate solution; the other was for Milli Q water. Two electrodes were placed on each side of the eggshell model, where the anode (+) was immersed in Milli Q water and the cathode (-) was immersed in a saturated iodate solution. Under an electrical potential, negatively charged iodate ion would be pushed by the cathode into the eggshell towards the anode. The iodate level in the eggshell model was determined by a capillary electrophoresis method. Factors such as electrical potential, time, and position of the electrodes were studied in this experiment. The result revealed that the iodate level in the eggshell mode was increasing with increased electrical potentials and time. In addition, the electrodes position that was placed adjacent to the eggshell model exhibited higher iodate level than the position that was placed far away from the eggshell model.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectขั้วไฟฟ้าen_US
dc.subjectแบบจำลองเปลือกไข่en_US
dc.titleการแพร่ของไอโอเดตเข้าสู่แบบจำลองเปลือกไข่ที่เร่งด้วยเทคนิคการนำส่งด้วยไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeDiffusion of iodate into eggshell model accelerated by electro-delivery techniqueen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorPakorn.V@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2556_5.pdf3.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.