Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66319
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | วีระพงษ์ บุญโญภาส | - |
dc.contributor.advisor | วันชัย ศรีนวลนัด | - |
dc.contributor.author | ศิริเพ็ญ ตั้งทวีสุโข | - |
dc.date.accessioned | 2020-06-14T09:40:24Z | - |
dc.date.available | 2020-06-14T09:40:24Z | - |
dc.date.issued | 2547 | - |
dc.identifier.isbn | 9741767722 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66319 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2547 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มุ่งศึกษาถึงมาตรการต่าง ๆ ที่รัฐกำหนดขึ้นเพื่อใช้ในการคุ้มครองพยานให้ได้รับความปลอดภัยสูงสุดอันเป็นการขจัดปัญหาการไม่ได้ตัวพยานมาเบิกความโดยศึกษามาตรการตาม พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 ประกอบกับศึกษาเทียบเคียงพระราชบัญญัติคุ้มครองความปลอดภัยและผลประโยชน์ของพยานบุคคลในคดีอาญาของประเทศฟิลิปปินส์ จากการศึกษา พบว่ามาตรการต่าง ๆ ที่พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 กำหนดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นการจัดหาที่อยู่ใหม่ การเปลี่ยนชื่อสกุล การจ่ายค่าเลี้ยงชีพ หรือการคุ้มครองความปลอดภัย ก็เพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้แก่พยานว่าจะได้รับความปลอดภัยและชดเชยความเสียหายทางเศรษฐกิจที่พยานอาจได้รับ อันเป็นการขจัดปัญหาการไม่ได้ตัวพยานมาเบิกความ แต่อีกนัยหนึ่งกลับพบปัญหาในเชิง บริหารงานยุติธรรมเกี่ยวกับการรักษาความลับของพยานเมื่อมีการประสานงานกับหน่วยงานอื่น และการไม่มีงบประมาณของตนเองในการใช้จ่าย ทำให้มาตรการต่าง ๆ ที่กำหนดขึ้นไม่อาจสัมฤทธิ์ผลเท่าที่ควร ทั้งยังพบปัญหาในเชิงกฎหมายหลายประการที่ยังไม่สามารถสร้างความเชื่อมั่นให้แก่พยานว่าจะได้รับความปลอดภัย ผู้เขียนเห็นว่าควรเพิ่มมาตรการความปลอดภัยให้แก่พยานโดยหลีกเลี่ยงมิให้พยานต้องเผชิญหน้ากับจำเลยโดยนำวิธีการสอบสวนและสืบพยานเด็กตามประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา มาตรา 133 ทวิ และมาตรา 172 ตรี มาปรับใช้เพื่อลดความหวาดกลัวของพยาน และเพิ่มมาตรการเร่งรัดกระบวนพิจารณาคดีให้เสร็จสิ้นภายในเวลาที่รวดเร็วโดยกำหนดไว้เป็นสิทธิที่พยานพึงได้รับตามกฎหมายเพื่อลดระยะเวลาในการเสี่ยงภัยของพยาน นอกจากนี้ควรกำหนดให้การขัดขวางกระบวนการยุติธรรม (Obstruction of Justice) เป็นความผิดอาญาโดยเฉพาะเพื่อสร้างความเกรงกลัวให้แก่ผู้กระทำผิดและสร้างความเชื่อมั่นแก่พยานเพิ่มมากขึ้น อันจะเป็นการขจัดปัญหาการไม่ได้ตัวพยานมาเบิกความและทำให้การ คุ้มครองพยานตามพระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น | - |
dc.description.abstractalternative | This thesis is aimed at studying various witness protection measures provided by the Government in order to protect witness in the highest degree and to solve problem of no witness to testify. The study deals with measures under the Witness Protection in Criminal Case Act B.E. 2546 (2003) in comparison with the ones under the Witness Protection, Security and Benefit Act of the Philippines. It is found from the study that measures under the 2003 Act, including provision of shelter, new identity, payment of living expenses and other safekeeping measures, are intended to ensure safety of the witness and to compensate the witness for economic loss in order to overcome the problem of no witness to testify. However, some difficulties in criminal justice administration, counting keeping secret of the witness when other agency involves and no budget in one's own agency, have caused such measures not so effective as they should be. Besides, a number of legal problems as well lessen confidence of the witness. The writer is of the opinion that more measures should be initiated as follows. The witness should not have to confront the accused, as applicable in the process of investigating and taking evidence of the child witness under the Criminal Procedure Code, Section 133 bis and Section 172 ter in order to reduce the witness’s fear. The witness should be entitled to speedy trial in order to reduce the risky time. เท addition, obstruction of justice should be criminalized in order to threaten the offender and to give more confidence to the witness. These recommended measures will end the problem of no witness to testify and will make the measures under the 2003 Act be more efficient. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 | en_US |
dc.subject | พยานบุคคล -- การคุ้มครอง -- กฎหมายแลระเบียบข้อบังคับ -- ไทย | en_US |
dc.subject | Witnesses -- Protection -- Law and legislation -- Thailand | en_US |
dc.title | พระราชบัญญัติคุ้มครองพยานในคดีอาญา พ.ศ. 2546 : ศึกษากรณีกลไกทางกฎหมายกับสัมฤทธิ์ผลของการคุ้มครองพยาน | en_US |
dc.title.alternative | Witness protection in Criminal Case Act B.E. 2546 : study of the legal measures and the achievement of witness protection | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Viraphong.B@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Siripen_ta_front_p.pdf | หน้าปก บทคัดย่อ และสารบัญ | 943.82 kB | Adobe PDF | View/Open |
Siripen_ta_ch1_p.pdf | บทที่ 1 | 774.72 kB | Adobe PDF | View/Open |
Siripen_ta_ch2_p.pdf | บทที่ 2 | 1.43 MB | Adobe PDF | View/Open |
Siripen_ta_ch3_p.pdf | บทที่ 3 | 1.93 MB | Adobe PDF | View/Open |
Siripen_ta_ch4_p.pdf | บทที่ 4 | 2.04 MB | Adobe PDF | View/Open |
Siripen_ta_ch5_p.pdf | บทที่ 5 | 1.01 MB | Adobe PDF | View/Open |
Siripen_ta_back_p.pdf | รายการอ้างอิงและภาคผนวก | 1.62 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.