Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66331
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธนิษฐ์ ปราณีนรารัตน์-
dc.contributor.advisorรวิวรรณ เหล่าเจริญสุข-
dc.contributor.authorจุฑามาศ ปราบพาล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-14T15:57:23Z-
dc.date.available2020-06-14T15:57:23Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66331-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ได้ทำการสังเคราะห์โครงสร้างสองมิติของโลหะทองเพื่อใช้เป็นจุดขยายสัญญาณรามานใน เทคนิค Surface Enhanced Raman Scattering (SERS) ด้วยเทคนิค nanosphere lithography (NSL) โดย ใช้อนุภาคพอลิสไตรีนที่มีการจัดเรียงตัวชั้นเดียวเป็นแม่แบบ โดยการทดลองปรับสภาวะดังนี้ 1. ความสูงระหว่าง แผ่นปาดกับผิวแก้ว 2. ความเร็วในการปาดสารแขวนลอย 3. ปริมาตรของสารแขวนลอย โดยสภาวะที่เหมาะสม ที่สุด สามารถเตรียมแม่แบบได้พื้นผิวเฉลี่ย 38,000 μm² ซึ่งถือว่ามีปริมาณสูง และได้นำไปเคลือบโลหะทอง และศึกษาผลของระยะเวลาที่ใช้เคลือบในช่วง 240-600 วินาที กับลักษณะของจุดขยายสัญญาณรามานที่ได้ พบว่าโครงสร้างสองมิติของจุดขยายสัญญาณมีลักษณะเป็นวงแหวนที่มีความสูงมากขึ้น เมื่อใช้เวลาในการเคลือบ มากขึ้นเมื่อตรวจสอบด้วยเทคนิค Atomic Force Microscopy (AFM) จากนั้นได้ทำการทดสอบประสิทธิภาพ ในการขยายสัญญาณของ 4,4’-thiobisbenzenethiol (TBBT) เทียบกับพื้นผิวแบบฟิล์มบางปกติ พบว่าสามารถ ขยายสัญญาณได้สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญเมื่อใช้เวลาในการเคลือบโลหะทองมากขึ้น จากนั้นศึกษาประสิทธิภาพในการตรวจวัด สัญญาณรามานข อ ง Quorum Sensing (QS) ชนิด N-acyl L–homoserine lactone (สารประกอบ 2a-2c) และ N-(3-oxo-alkanoyl) L-homoserine lactone (สารประกอบ 4a-4c) ที่สังเคราะห์ ขึ้น พบว่า โครงสร้างสองมิติที่พัฒนาขึ้นสามารถใช้ขยายสัญญาณรามานของ QS และสามารถบอกความแตกต่าง ของสัญญาณจาก QS แต่ละชนิดได้en_US
dc.description.abstractalternativeThis project focuses on fabrication 2D patterned gold structure as Surface Enhanced Raman Scattering (SERS) substrate via nanosphere lithography technique (NSL) using polystyrene monolayer as an NSL mask. In the experiment, three critical conditions were optimized to obtain the highest monolayer area; (1) distance between spreader and glass substrate (2) deposition rate and (3) volume of polystyrene nanoparticles. Based on the optimum conditions, monolayer area of 38,000 μm² can be obtained. Following the NSL mask preparation, Au thin film was deposited using ion sputtering technique by varying deposition time in a range of 240-600 seconds. Atomic Force Microscopy (AFM) images showed that the ring shape structures were formed. The ring height increased when using longer coating time. The study of SERS efficiency with Raman probe; 4,4’-thiobisbenzenethiol (TBBT), showed that the 2D structure can enhance Raman intensity significantly compared with the smooth Au film. Higher SERS signal is obtained when using longer coating time. Furthermore, the 2D structure can enhance and identify the differences of Raman signals of Quorum Sensing (QS) molecules including N-acyl L–homoserine lactones (2a-2c) and N-(3-oxo-alkanoyl) L-homoserine lactones (4a-4c) that were also synthesized in this project.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleการพัฒนาโครงสร้างสองมิติที่มีการจัดเรียงตัวอย่างมีแบบแผนของจุดขยายสัญญาณรามานเพื่อใช้ศึกษาลักษณะการปลดปล่อยของสารเคมีในเซลล์สิ่งมีชีวิตen_US
dc.title.alternativeFabrication of 2D Patterned Hotspots as SERS Platform for Chemical Mapping of Living Cellsen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorThanit.P@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2556_29.pdf4.79 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.