Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66387
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุรชัย พรภคกุล-
dc.contributor.authorธนดล แก้วอยู่-
dc.contributor.authorทินกร พันเดช-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-15T14:10:07Z-
dc.date.available2020-06-15T14:10:07Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66387-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractการเกิดเนื้อแก้วซึ่งเกิดจากการหลั่งของยางผลมังคุดภายในผลและน้ำยางที่ผิวของผลมังคุดซึ่ง เกิดจากการหลั่งของยางมังคุดภายนอกผลมังคุด เป็นปัญหาใหญ่ของเกษตรกรผู้ปลูกมังคุด โดยงานวิจัย นี้ได้ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีและ ฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระจากยางของผลมังคุด พบว่าตัวทำ ละลายในการสกัดที่ดีที่สุดคือ เมทานอล จากนั้นเมื่อแยกสารที่สกัดได้ ด้วยเทคนิค คอลัมน์โครมาโท- กราฟีได้ fraction ผสมทั้งหมด 10 fractions โดย fraction ที่มีปริมาณมากที่สุดคือ fraction ที่ 4 ถูกทำ ให้บริสุทธิ์มากขึ้นโดยใช้ อัตราส่วนระหว่าง เฮกเซน : เอธิลอะซิเตท ในการตกผลึกได้สาร 3 fractions คือ fraction ที่ 4-1, 4-2, และ 4-3 โดยการเปรียบเทียบด้วยการวิเคราะห์ด้วย ¹H-NMR จากข้อมูลใน งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง พบว่า สารใน fraction 4-1 คือ α-mangostin นอกจากนั้น ทำการแยก fraction ที่ 6 ซึ่งเป็น fraction ผสม ด้วยเทคนิคคอลัมน์โครมาโทกราฟีได้ 6 fractions คือ 6-1, 6-2, 6-3, 6-4, 6-5, และ 6-6. โดยฤทธิ์ ในการต้านอนุมูลอิสระซึ่งทดสอบด้วย DPPH และเทียบกับสาร Trolox พบว่า fraction ที่ 4-2, 4-2, 4-3 และ fraction ที่ 6-3 และยางจากผลมังคุด มีค่า TEAC คือ 0.052, 0.146, 0.054, 2.189 และ 0.431 ไมโครโมล / กรัมen_US
dc.description.abstractalternativeTranslucent disorder and yellow secreted resin cover on fruits of mangosteen , caused by yellow secretion inside and outside of the fruit respectively , are the most important of mangosteen seller. This research had studied the chemical composition and antioxidant activity of the secreted resin of magosteen fruit. It was found that methanol is the most effective solvent for extraction. The extract was subjected to column chromatography to give 10 combined fractions. The major fractions was further purified by crystallization from hexane - Ethyl acetate to give three fractions , 4-1, 4-2 and 4-3. By ¹H-NMR analysis and comparison with data in literature the fraction 4-1 was identified as α-mangostin. Additionally the combined fraction 6 was further isolated by column chromatography to give six combined fractions 6-1, 6-2, 6-3, 6-4 , 6-5 and 6-6 . Antioxidant activity was also evaluated using DPPH radical scavenging assay and Trolox was used as positive control. The fraction 4-1, 4-2, 4-3 and 6-3 and the secreted resin exhibited antioxidant activity with Trolox equivalent antioxidant capacity (TEAC) values of 0.052, 0.146, 0.054, 2.189 and 0.431 μmol/g , respectivelyen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectมังคุด -- วิเคราะห์และเคมีen_US
dc.titleองค์ประกอบทางเคมีจากยางผลมังคุดen_US
dc.title.alternativeChemical composition of secreted resin of mangosteen fruiten_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSurachai.P@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2556_35.pdf3.04 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.