Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66390
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคเณศ วงษ์ระวี-
dc.contributor.authorอรพร วงษ์อุระ-
dc.contributor.authorพิมพ์ชนก เลาห์ทวีรุ่งเรือง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-15T14:23:19Z-
dc.date.available2020-06-15T14:23:19Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66390-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractอนุภาคเงินระดับนาโนกำลังเป็นที่นิยมกันอย่างแพร่หลายในงานวิจัยทางด้านนาโนเทคโนโลยี เนื่องจากการมีคุณสมบัติพิเศษในเชิงแสง ไฟฟ้าและเคมี ส่วนใหญ่แล้วการสังเคราะห์อนุภาคเงินระดับนาโนจะเตรียมได้จากปฏิกิริยารีดักชันของไอออนโลหะเงิน (Ag⁺) และตัวรีดิวซ์ อย่างไรก็ตามยังมีข้อจำกัดในการประยุกต์ใช้โดยเฉพาะงานที่ทำในตัวทำละลายอินทรีย์ จึงจำเป็นต้องย้ายเฟสของอนุภาคเงินระดับนาโนให้กระจายตัวอยู่ในตัวทำละลายอินทรีย์ ด้วยเหตุนี้เองการศึกษานี้ได้พัฒนาวิธีอย่างง่ายในการเคลื่อนย้ายเฟสอนุภาคเงินระดับนาโนรูปร่างทรงกลมจากชั้นน้ำให้กระจายตัวในชั้นตัวทำละลายอินทรีย์ด้วยการใช้สารลดแรงตึงผิวเตตระออกทิลแอมโมเนียมโบรไมด์ (Tetraoctylammonium bromide; TOAB) พบว่าที่สภาวะความเข้มข้นของสารลดแรงตึงผิวที่เหมาะสม วีการดังกล่าวสามารถเคลื่อนย้ายอนุภาคเงินจากชั้นน้ำไปยังตัวทำละลายอินทรีย์ 2 ชนิด ได้แก่ โทลูอีนและคลอโรฟอร์ม ที่อุณหภูมิห้องและ pH = 7 ได้อย่างสมบูรณ์ อีกทั้งยังได้ประยุกต์ใช้วิธีการดังกล่าวในการเคลื่อนย้ายอนุภาคเงินระดับนาโนรูปทรงที่เป็นแผ่นด้วย นอกจากนี้การกระจายตัวและความเสถียรของอนุภาคเงินระดับนาโนได้ถูกทดสอบโดยการนำไปผสมกับพอลิเมอร์พอลิสไตรีน แล้วนำไปขึ้นรูปเป็นแผ่น พบว่าอนุภาคเงินในตัวทำละลายโทลูอีนนั้นมีการกระจายตัวและความเสถียรในพอลิสไตรีนสูงเนื่องจากเมื่อนำแผ่นพอลิเมอร์ไปแช่สารละลายเกลือนั้นอนุภาคเงินระดับนาโนนั้นไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงen_US
dc.description.abstractalternativeSilver nanoparticles (AgNPs) have attended a great interest due to their shape- and sizedependent to optical, electrical and chemical properties. As AgNPs are mostly syntheses in aqueous solution thought the reduction mechanism of silver ions (Ag+) and strong reducing agent, however, some specific applications may call for the transfer of the formed AgNPs from a polar (aqueous solution) to non-polar environment (or vice versa) after synthesis. This study focuses on the development of a simple approach by using cationic surfactant, namely Tetraoctylammonium bromide (TOAB), as capping agent to modify the hydrophilicity / hydrophobicity of the AgNP surface. Phase transfer of the already formed AgNPs from a polor (aqueous solution) to non-polor environments (toluene and chloroform media) have been accomplished at room temperature and neutral pH using the optimal amount of the surfactant (TOAB). Phase transfer of silver nanoplate (AgNPls) using the approach is also investigated. In addition, dispersibility and stability of AgNPs in toluene media was evaluated by mixing with polystyrene. It was found that the transferred AgNPs is highly dispersed and stable in the polystyrene strap as they do not reach from the strap after adding the etching agent (sodium chloride).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอนุภาคนาโนen_US
dc.titleการเตรียมอนุภาคเงินระดับนาโนในตัวทำละลายอินทรีย์en_US
dc.title.alternativePreparation of silver nanoparticles dispersing in organic mediaen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorKanet.W@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2556_38.pdf3.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.