Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66391
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชูชาติ ธรรมเจริญ-
dc.contributor.advisorสนอง เอกสิทธิ์-
dc.contributor.authorศุภานัน สุนันต๊ะ-
dc.contributor.authorพรเพ็ญ เสือขำ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-15T14:25:59Z-
dc.date.available2020-06-15T14:25:59Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66391-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.description.abstractโลหะเงิน มีการใช้ประโยชน์อย่างมากในอุตสาหกรรม ในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษากระบวนการของ การนำกลับโลหะเงินจากของเสียในห้องปฏิบัติการ และอุตสาหกรรม โดยการวิเคราะห์แบบกราวิเมทริก (Gravimetric analysis) ด้วยวิธีการออกแบบแผนการทดลอง (Experimental design) เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ การนำกลับโลหะเงิน ให้พร้อมต่อการแปรรูปเป็นเม็ดโลหะเงินบริสุทธิ์ โดยทำการศึกษาอิทธิพลของ pH, ความ เข้มข้นของซิลเวอร์ไอออน ([Ag⁺]), อัตราส่วนจำนวนโมลระหว่างไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ต่อซิลเวอร์ไอออน ([H₂O₂]/[Ag⁺]) และการใช้น้ำประปาแทนการใช้น้ำปราศจากไอออน (Deionized water,DI) ที่มีต่อร้อยละผลได้ กลับคืนโลหะเงิน เพื่อหาอิทธิพลที่เหมาะสม ในการเพิ่มประสิทธิภาพการนำกลับโลหะเงิน และศึกษาสัณฐาน วิทยาของโลหะเงินที่สกัดได้ โดยใช้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนแบบส่องกราด (Scanning Electron Microscopy, SEM) เพื่อวัดขนาด ตรวจสภาพของโลหะเงินที่นำกลับได้ จากการศึกษาอิทธิพลดังกล่าวนั้น พบว่า pH ที่เหมาะสมที่สุดคือ 12, ความเข้มข้นของซิลเวอร์ไอออน ([Ag⁺])คือ 0.081 โมลาร์, อัตราส่วนจำนวนโมล ระหว่างไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ต่อซิลเวอร์ไอออน ([H₂O₂]/[Ag⁺]) คือ 8 ขนาดของโลหะเงินมีสัญฐานวิทยา หลายแบบปะปนกันไป ขนาดตั้งแต่ 2 - 50 ไมโครเมตร และสามารถใช้น้ำประปาแทนการใช้น้ำปราศจากไอออน ได้ ซึ่งสามารถนำมาประยุกต์ใช้ในอุตสาหกรรมได้en_US
dc.description.abstractalternativeSilver has been used in many industrial works. This research has studied the process for recovering silver from waste of laboratory and industry by gravimetric analysis and experimental design that is suitable for our works. To develop the process of silver recovery, the researchers have studied the influence of pH, concentration of silver ions, the ratio of the number of moles of hydrogen peroxide to silver ions and the use of tap water instead of deionized water that affects the percentage of silver recovery. The studies for the morphology of silver metal were characterized by scanning electron microscopic technique for sizing and examining physical feature. As the results, the optimum conditions are pH 8, the concentration of silver ions of 0.081 molar and the ratio of the number of moles of hydrogen peroxide to silver ions of 8. The size of silver metal is varied from 2 – 50 micrometers. Moreover, in this process tap water can be replaced by deionized water.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.titleกระบวนการนำกลับโลหะเงินจากของเสียในห้องปฏิบัติการและอุตสาหกรรมen_US
dc.title.alternativeProcess for recovering silver from waste of laboratory and industryen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorSanong.E@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2556_39.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.