Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66446
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสนอง เอกสิทธิ์-
dc.contributor.authorณิชกานต์ ถ้ำกลาง-
dc.contributor.authorกฤตพัฒน์ พรหมพล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-17T06:36:44Z-
dc.date.available2020-06-17T06:36:44Z-
dc.date.issued2557-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66446-
dc.descriptionโครงงานเป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต ภาควิชาเคมี คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2557en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาต้นแบบกล้องจุลทรรศน์สมาร์ทโฟนที่สามารถถ่ายภาพที่มีความละเอียด สูงในโหมดส่องผ่าน, โหมดสะท้อนและโหมดหัวกลับในหนึ่งเดียว เพื่อใช้เป็นอุปกรณ์สำหรับสังเกตวัตถุที่มีขนาดเล็ก เกินกว่าที่จะมองเห็นด้วยตาเปล่า (น้อยกว่า 0.1 มิลลิเมตร) โดยงานวิจัยนี้เปลี่ยนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนให้กลาย เป็นกล้องจุลทรรศน์สมาร์ทโฟนโดยการสร้างอุปกรณ์เสริมที่ประกอบด้วยเลนส์ที่มีกำลังขยายสูงและสามารถแสดง ภาพวัตถุโดยไม่เกิดการบิดเบี้ยว คือ เลนส์พลาโนคอนเวกซ์ คณะผู้วิจัยเลือกเปลี่ยนโทรศัพท์มือถือสมาร์ทโฟนให้กลาย เป็นกล้องจุลทรรศน์สมาร์ทโฟน เนื่องจากสมาร์ทโฟนเป็นอุปกรณ์ที่ใช้งานง่าย มีขนาดเล็ก กะทัดรัด พกพาได้สะดวก และมีแอพพลิเคชันสำหรับถ่ายภาพที่สามารถใช้ได้ในเวลาที่ต้องการได้ทันที กล้องจุลทรรศน์สมาร์ทโฟนที่พัฒนาขึ้นนี้ มีกำลังขยาย 13 เท่า ความละเอียดของภาพวัตถุที่ถ่ายได้อยู่ที่ 8 ล้านพิกเซล จากผลการทดลองถ่ายภาพผลึกของซิล เวอร์อะซีเตต, ซิลเวอร์ไมริสเตต, น้ำตาล และเกลือด้วยกล้องจุลทรรศน์สมาร์ทโฟนที่พัฒนาขึ้นเปรียบเทียบกับภาพที่ถ่ายได้จากกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงในห้องปฏิบัติการที่มีกำลังขยาย 50 เท่า ความละเอียดของภาพวัตถุที่ถ่ายได้อยู่ ที่ 1.5 ล้านพิกเซล พบว่า ภาพที่ถ่ายจากกล้องจุลทรรศน์สมาร์ทโฟนที่พัฒนาขึ้นมีความคมชัด และสามารถแสดง รายละเอียดของขนาดและรูปร่างของตัวอย่างได้ชัดเจนและถูกต้องเทียบเท่ากับกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสงใน ห้องปฏิบัติการ นอกจากนี้กล้องจุลทรรศน์สมาร์ทโฟนยังมีราคาต้นทุนในการประดิษฐ์ต่ำกว่าราคาขายของกล้อง จุลทรรศน์ในห้องปฏิบัติการด้วยen_US
dc.description.abstractalternativeThis research aims to develop the TRISM, 3-in-1 transmission, reflection and inversion smartphone microscope, that can take pictures with high resolutions to be used as an instrument for seeing objects that are too small for the naked eye (smaller than 0.1 millimeter in size). A smartphone is simply transformed into a mobile microscope by attaching developed clip-on lens accessory. The main component of the accessory is the plano convex lens. A smartphone microscope has a magnification of 13x with the image resolution of 8 megapixels, which is the same result as that of an optical microscope with a magnification of 50x in reflection and transmission modes and the image resolution of 1.5 megapixels. The pictures captured by smartphone microscope clearly and accurately displayed the morphology of various test crystalline solids e.g. silver acetate, silver myristate, sugar and salt in the comparable quality with the pictures obtained from the optical microscope. In addition, the smartphone microscope possesses many advantages over the conventional optical microscope such as portability, simple operation, networking applications, accessibility, and inexpensive price.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectกล้องจุลทรรศน์en_US
dc.subjectMicroscopesen_US
dc.titleTRISM – กล้องจุลทรรศน์สมาร์ทโฟนแบบส่องผ่าน สะท้อน และหัวกลับในหนึ่งเดียวen_US
dc.title.alternativeTRISM – 3-in-1 Transmission, Reflection, Inversion Smartphone Microscopeen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorSanong.E@Chula.ac.th-
Appears in Collections:Sci - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
2557_23.pdf5.41 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.