Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66461
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเอกสิทธิ์ นิสารัตนพร-
dc.contributor.advisorดูบาส, สเตฟาน ที.-
dc.contributor.authorเมษิณี จินดาธรรม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2020-06-18T03:43:56Z-
dc.date.available2020-06-18T03:43:56Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9741756992-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/66461-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้ศึกษาการสังเคราะห์อนุภาคเงินนาโน จากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตที่มีสารละลายพอลิอิเล็กโทรไลต์โดยโฟโตรีดักชัน โดยศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการสังเคราะห์ คือ ค่าความเป็นกรดด่าง ชนิดของแสง สัดส่วนความเข้มข้นของสารละลายผสมระหว่างพอลิอิเล็กโทรไลต์และซิลเวอร์ไนเตรต และเวลาในการสังเคราะห์ แล้วมีการวัดขนาดอนุภาค และศึกษาความสามารถในการตกตะกอนของอนุภาคเงินนาโนจากสารละลายผสมที่ผ่านการสังเคราะห์อนุภาคเงินนาโนแล้ว ด้วยการใช้ตัวทำละลายอินทรีย์ ผลการทดลองพบว่า พอลิอิเล็กโทรไลต์ที่สามารถทำปฏิกิริยากับซิลเวอร์ไนเตรต แล้วเกิดการสังเคราะห์อนุภาคเงินนาโนขึ้นได้ ในกรณีนี้มี 3 ชนิด คือ พอลิ-4-สไตรีนซันโฟนิกโคมาเลอิกแอซิด (copolymer) พอลิเมทิลอคริเลท (PMA) และแอลจิเนต (alginate) โดยมีความเร็วในการสังเคราะห์ภายใต้สภาวะแสงต่าง ๆ เรียงจากมากไปหาน้อยดังนี้คือ แสงอาทิตย์ 1000 วัตต์ แสงจากเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ 250 วัตต์ แสงจากหลอดนีออน 8 วัตต์ แสงจากหลอดยูวี 4 วัตต์ แสงจากหลอดฮาโลเจน 50 วัตต์ และแสงจากหลอดไฟชนิดมีไส้ 60 วัตต์ ตามลำดับ การมีสัดส่วนความเข้มข้นของพอลิอิเล็กโทรไลต์มากกว่าสารละลายซิลเวอร์ไนเตรต จะทำให้เกิดอนุภาคเงินนาโนได้เร็ว และมากกว่า การเตรียมสารละลายผสมที่ค่าความเป็นกรดด่างสูง คือ pH 10 จะเกิดการสังเคราะห์อนุภาคเงินนาโนได้เร็ว และมากกว่าสารละลายผสมที่ค่าความเป็นกรดด่างต่ำคือ pH 4 การสังเคราะห์อนุภาคเงินนาโนจะเกิดเพิ่มขึ้นตามเวลา ทั้ง alginate, copolymer และ PMA สามารถสังเคราะห์อนุภาคเงินนาโนที่มีขนาดอนุภาคใกล้เคียงกันโดยเฉลี่ยประมาณ 81 นาโนเมตร การใช้เอทานอล อะซิโตน และไอโซ-โพรพานอล ทำให้สามารถแยกอนุภาคเงินนาโนในสารละลายผสมชนิดที่มี alginate และ PMA ได้ แต่ไม่สามารถแยกอนุภาคเงินนาโนในสารละลายผสมชนิดที่มี copolymer ได้en_US
dc.description.abstractalternativeThe synthesis of silver nanoparticles from silver nitrate solution in the presence of polyelectrolyte by photo-reduction was done. The effects of light, pH, concentration and time including the separation of silver nanoparticles outed off the mixed-solution by using the organic solvent were investigated. The experimental results indicated that it was possible to synthesis the silver nanoparticles from silver nitrate solution in the presence of polyelectrolytes ie. Poly(4-styrenesulfonic-co-maleic acid (sodium salt) or copolymer, alginic acid (sodium salt) or alginate and poly(methacrylic acid (sodium salt) or PMA. These polyelectrolytes could synthesis the silver nanoparticles with having 81 nanometers in diameter. The ability of light sources in order to synthesis nanoparticles can be ranked from higher levels to lower levels as follows: sun light, overhead lamp (250 watt), neon lamp (8 watt), UV lamp (4 watt), halogen lamp (50 watt) and tungsten-bulb (60 watt), respectively. Higher portion of polyelectrolyte in mixed solution or higher value of pH (pH 10), higher volume and productivity of nano-silver particles can be achieved. The productivity also depends upon the period of time used in process. Acetone, ethanol and Iso-propanol could separate the silver nanoparticles from the mixed solutions in which PMA and alginate are present. However these separation could not work in case of the copolymer mixed solution.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโฟโตเคมีen_US
dc.subjectเงิน -- การสังเคราะห์en_US
dc.subjectอนุภาคนาโนen_US
dc.subjectโพลิอิเล็กทรอไลต์en_US
dc.subjectเงินไนเตรทen_US
dc.subjectPhotochemistryen_US
dc.subjectNanoparticlesen_US
dc.subjectPolyelectrolytesen_US
dc.subjectSilver -- Synthesisen_US
dc.subjectSilver nitrateen_US
dc.titleการสังเคราะห์อนุภาคเงินนาโนจากสารละลายซิลเวอร์ไนเตรตที่มีพอลิอิเล็กโทรไลต์โดยโฟโตรีดักชันen_US
dc.title.alternativeThe synthesis of silver nanoparticles from silver nitrate solution in the presence of polyelectrolyte by photo-reductionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโลหการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorEkasit.N@chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Maysinee_ji_front_p.pdfหน้าปก และบทคัดย่อ1.08 MBAdobe PDFView/Open
Maysinee_ji_ch1_p.pdfบทที่ 1706.13 kBAdobe PDFView/Open
Maysinee_ji_ch2_p.pdfบทที่ 22.3 MBAdobe PDFView/Open
Maysinee_ji_ch3_p.pdfบทที่ 3900.1 kBAdobe PDFView/Open
Maysinee_ji_ch4_p.pdfบทที่ 41.95 MBAdobe PDFView/Open
Maysinee_ji_ch5_p.pdfบทที่ 5646.3 kBAdobe PDFView/Open
Maysinee_ji_back_p.pdfบรรณานุกรม และภาคผนวก1.69 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.